Quantcast
Channel: Limitless Cinema
Viewing all 3291 articles
Browse latest View live

FAVORITE THAI SHORT FILMS 2017

$
0
0

FAVORITE THAI SHORT FILMS 2017

This list includes only Thai “fiction” short films which are not longer than 30 minutes.

In preferential order

1.1984 THE LAST DAY OF THE RITE (2017, Pattanapol Suthaporn)

2.FFF (2017, Nonthachan Prakobsup)
วิป

3.WHERE THE SUN NEVER SHINES (2017, Watcharapol Saisongkhroh)
เมืองในหมอก

4.PLAISIRS (2017, Lucy Day)
[This film is directed by a foreigner, but the characters and the setting are Thai, so I included this film in Thai short film list.]

5.HAPPY ENDING (2017, Thanit Vasu Yantrakovit)

6.SONG X (2017, Pathompon Tesprateep)

7.TANK YOU TANK ME TANK US (2017, Pannissa Kuntawat)

8.LET BYGONES BE BYGONES (2017, Chanopas Chanchamroon)
ที่แล้วก็แล้วไป

9.TRIAMO (2017, Pathompong Praesomboon)

10.BANGKOK DYSTOPIA (2017, Patipol Teekayuwat)

11.IF A IS NOT SUBSET OF B (2017, Chutimun Khongtinthan)
ถ้า Aไม่เป็นสับเซตของB

12.VR (2017, Manasak Khlongchainan)

13.THE WAY OF DUST (1999, Prabda Yoon)
ทางของฝุ่น

14.SUPERBUG (2017, Wachara Kanha)
รอ 10 วัน มหันตภัยร้ายใกล้ตัวคนไทย

15.LANGUAGES (2017, Nasrin Cheha, Nureehan Layamung, Niasmalin Hayee-masa)
ภาษาพาวุ่น

16.CITIZEN BOONMA (2017, Uruphong Raksasad)
พลเมืองบุญมา

17.RIPE (2017, Pannaruj Peerachaikarn)
ฝาก

18.HOME (2017, Kanokporn Boonrugchart)

19.EYES MEMORIES (2017, Thanawich Rattanamala)

20.RECONCILIATION (2017, Bhandavis Depchand)
ปรองดอง

21.PIGEON (2017, Pasit Promnumpol)
พิราบ

22.DIPLOPIA (2016,Liew Niyomkarn)

23.THE TIGER CASTLE (2017, Patana Chirawong)
ปราสาทเสือ

24.COMMON SENSE (2017, Chanon Santinatornkul)

25.YELLOW LIGHT (2017, Preechaya Rattanadilokchai)
ไฟเหลือง

26.THE JUDGEMENT (2017, Tuanyazdan Saerae, Tuanyusree Saerae)

27.DONG HUG (2017, Chaiyaporn Jamrasnaew)
ดองฮัก

28.VAPOUR (2015, Apichatpong Weerasethakul)

29.SOMEWHERE ONLY WE KNOW (2017, Suthida Chanasit)

30.YEAH I’M FINE (2017, Kingkarn Suwanjinda)
เราโอเค

31.EVERYBODY’S FINE (2017, Thanakrit Duangmaneeporn)
ทุกคนที่บ้านสบายดี

32.FROM THE EDGE (IN 15 METRES) (2017, Kullapat Klatanakan)
จากเส้นขอบ (ในระยะ 15 เมตร)

33.KILOMETRE ZERO (2017, Torfun Chumaksorn)
กิโลเมตรที่สูญ

34.THAI DAIMARU (1964, Payut Ngaokrachang, advertisement)

35.FELL IN CEMETERY (2017, Jakkrapan Sriwichai)

36.OUT OF REACH (2017, Suriya Ausa)

37.NEVER TOLD YOU BEFORE (2017, Manutchai Raksasat)

38.KNOCKBOARD (2017, Sujinun Jirawattanarat)    

39.DON’T WORRY ABOUT IT (2017, Pasita Seneewong Na Ayudhaya)

40.THE DEBATE (2017, Karan Wongprakarnsanti)
วิวาทะ              

41.AFTER YOU LIE (2017, Ittinunt Rasanont)

42.ANOTHER (2017, Bowornlak Somroob)

43.LEFT, SHE BLOOMS (2017, Primrin Puarat)
สดใสวันบัวบาน

44.WHEN THE HEAVEN WATER FALLS DOWN UPON US (2017, Watjakorn Hankoon)
ยามน้ำฟ้า ตกมาสู่เฮา

45.LANNA (2017, Piyamon Kasom)

46.500,000 YEARS (2016, Chai Siris)

47.17 (2017, Nottapon Boonprakob)

48.THE SERPENT’S SONG (2017, Nuntanat Duangtisarn)

49.WHEN THE RAIN IS FALLING DOWN (2017, Nakhen Puttikulangkura)
ข้างนอกฝนหยุดตกยัง

50.SON OF MAFIA (2017, Sibprapas Auerpitak)
พ่อครับ...ผมอยากเป็นมาเฟีย

51.THE LAST THING (ETC.) ON NEW YEAR’S EVE (2017, Bowornlak Somroob)
เรื่องสุดท้าย (ฯลฯ) ในวันสิ้นปี

52.HAPPYAPPY (2017, Nattawat Lertprasobsuk)

53.OUR HOME SAYS ALL ABOUT US (2017, Pasit Tandaechanurat)

54.SEE YOU AGAIN (2017, Nitiwat Chonwanitsiri)
ฉันเห็นโลกในมุมมองเดียว

55.100 TIMES REPRODUCTION OF A COCK KILLS A CHILD BY PECKING ON THE MOUTH OF AN EARTHEN JAR (2017, Chulayarnnon Siriphol)

56.VACUUM (2017, Supamok Silarak)
สุญญากาศ

57.PLASTIC BAG (2017, Weerapong Wimuktalop)
ถุงพลาสติก

58.FLUMMOXED COCOON (2017, Theerapat Wongpaisarnkit)
ดักแด้โกลาหล

59.MALADY OF US (2017, Tanakit Kitsanayunyong) 
โรคของฉันเธอเขาท่านเหล่านั้น                           

60.THE REASON (2017, Yingyong Wongtakhee)
แด่เธอผู้เดียว -- คนดูหนังที่ไม่มีวันหวนกลับมา


FILMS SEEN LATELY

$
0
0

ช่วงหยุดสงกรานต์นึกว่าจะได้เขียนถึงหนังที่เพิ่งดู ปรากฏว่าไม่มีเวลาเลย ต้องทำความสะอาดห้อง และสะสางงานคั่งค้างต่างๆ ก็หมดเวลาแล้ว สรุปว่าต้องเข้าสู่โหมดจดชื่อหนังที่ได้ดูเพียงอย่างเดียว

หนังที่ได้ดูช่วงนี้
1.INSIANG (1976, Lino Brocka, Philippines, A+30)    
2.BARB WIRED FENCE (1961, Asrul Sani, Indonesia, A+30)
3.7 DAYS IN ENTEBBE (2018, José Padilha, A+15)
4.KEYS TO THE HEART (2018, Choi Sung-Hyun, South Korea, A+15)
5.LOVE THE THIRTEEN (2018)
--UNFRIEND (พิษณุ บุญเทียน, A+)
--ชิน LOVE 13:5 (อินทัช พชรอินคัม, A+5)
--MUTE (วรวุฒิ หลักชัย, A+30)
--รัก (ไม่) เก่า OUR LOVE IS NOT OLD (ชาตรี นวลเอี่ยมเอก, C+)
--ลับขอบฟ้า LOOK FOR ME AT DUSK (นิพันธ์ จ้าวเจริญพร, A+10)
6.LUANG PEE JAZZ 5G (2018, Poj Arnon, A-)

FAVORITE FILMS 2017

$
0
0

FAVORITE FILMS 2017

A.FAVORITE FOREIGN FILMS 2017

This list includes foreign fiction films which are longer than 30 minutes, and which I saw during 22 Dec 2016-31 Dec 2017.

1.MUSHROOMS (LOS HONGOS) (2014, Oscar Ruiz Navia, Colombia)

2.ANTS IN THE LEG (2016, Danielle Zorbas, Australia, 41min)

3.PEOPLE POWER BOMBSHELL: THE DIARY OF VIETNAM ROSE (2016, John Torres, Philippines)

4.SLEEP HAS HER HOUSE (2017, Scott Barley, UK)

5.THE THIRD MURDER (2017, Hirokazu Koreeda, Japan)         

6.NAUFRAGIO (1978, Jaime Humberto Hermosillo, Mexico)

7.A MARRIED WOMAN (1982, Alberto Bojórquez, Mexico)

8.BIRDSHOT (2016, Mikhail Red, Philippines)

9.EDEN (2014, Mia Hansen-Løve, France)

10.NOCTURAMA (2016, Bertrand Bonello, France)

11.TONI ERDMANN (2016, Maren Ade, Germany)

12.SONGS OF REVOLUTION (2017, Bill Mousoulis, Greece)

13.BLADE RUNNER 2049 (2017, Denis Villeneuve, 164min)      

14.IRACEMA (1975, Jorge Bodanzky, Orlando Senna, Brazil)    

15.NAKED CHILDHOOD (L’ENFANCE NUE) (1968, Maurice Pialat, France, second viewing)

16.2001: A SPACE ODYSSEY (1968, Stanley Kubrick)

17.THE MAGNIFICENT NINE (2016, Yoshihiro Nakamura, Japan)

18.SALOMÈ (1972, Carmelo Bene, Italy)

19.STRANGER BY THE LAKE (2013, Alain Guiraudie, France)

20.WHERE THERE IS SHADE (2015, Nathan Nicholovitch, France/Cambodia)

21.IT WAS HOTEL CAMBRIDGE (2016, Eliane, Caffé, Brazil)

22.TOILET – EK PREM KATHA (2017, Shree Narayan Singh, India)

23.THITHI (2015, Raam Reddy, India)

24.GENTE DE BIEN (2014, Franco Lolli, Colombia)

25.THE MASQUE OF THE RED DEATH (1964, Roger Corman)

26.THE ROMANTIC EXILES (2015, Jonás Trueba, Spain)

27.SELF MADE (2014, Shira Geffen, Israel)

28.PERSONAL SHOPPER (2016, Olivier Assayas, France)

29.SNAKESKIN (2014, Daniel Hui, Singapore)

30.CREEPY (2016, Kiyoshi Kurosawa, Japan)

31.ZIARAH: TALES OF THE OTHERWORDS (2016, BW Purba Negara, Indonesia)

32.BLACK GIRL (1966, Ousmane Sembene, Senegal/France)

33.MOONLIGHT (2016, Barry Jenkins)

34.DANGAL (2016, Nitesh Tiwari, India)

35.ARRIVAL (2016, Denis Villeneuve)

36.CALL ME BY YOUR NAME (2017, Luca Guadagnino, Italy/France)     

37.KISEKI: SOBITO OF THAT DAY (2017, Atsushi Kaneshige, Japan)     

38.ALIEN: COVENANT (2017, Ridley Scott)

39.SILENCE (2016, Martin Scorsese)

40.MIDNIGHT DINER (2014, Joji Matsuoka, Japan) + MIDNIGHT DINER 2 (2016, Joji Matsuoka, Japan)

41.THE MONK (2014, The Maw Naing, Myanmar)    

42.COLOSSAL (2016, Nacho Vigalondo)

43.SAKURADA RESET PART I + SAKURADA RESET PART II (2017, Yoshihiro Fukagawa, Japan)

44.MOTHER! (2017, Darren Aronofsky)

45.UNDERGROUND (1928, Anthony Asquith, UK)

46.DEAREST SISTER (2017, Mattie Do, Laos/Estonia/France)

47.WELCOME TO HINDAFING (2017, Boris Kunz, Germany, TV series, 270min)

48.NECROPOLIS (1970, Franco Brocani, Italy)

49.STAYING VERTICAL (2016, Alain Guiraudie, France)

50.GET OUT (2017, Jordan Peele)

51.ORDINARY PEOPLE (2016, Eduardo W. Roy Jr., Philippines)

52.LAST SCREENING (2011, Laurent Achard, France)

53.THE SISTERS-IN-LAW (LES BELLES SOEURS) (2011, Gabriel Aghion, France)

54.FEATHER (2016, Roan Johnson, Italy)

55.WAITER! (GARÇON!) (1983 Claude Sautet, France)

56.TWO FRIENDS (2015, Louis Garrel, France)

57.VIRGIN MARGARIDA (2012, Licinio Azevedo, Mozambique/France/Portugal)

58.POP AYE (2017, Kirsten Tan, Singapore/Thailand)

59.CREMASTER 1 (1996), CREMASTER 2 (1994), CREMASTER 4 (1995), CREMASTER 5 (1997) all directed by Matthew Barney

60.RAMPO NOIR (2005, Akio Jissoji, Atsushi Kaneko, Hisayasu Sato, Suguru Takeuchi, Japan)

61.THE ROAD TO MANDALAY (2016, Midi Z, Myanmar/Taiwan)

62.STRUGGLE FOR LIFE (2016, Antonin Peretjatko, France)

63.TANGOS, THE EXILE OF GARDEL (1985, Fernando E. Solanas, Argentina/France)

64.FOREIGN BODY (2014, Krzysztof Zanussi, Poland)

65.MRS. (2016, Adolfo Alix Jr., Philippines) 

66.GIRLS TRIP (2017, Malcolm D. Lee)

67.BABY DRIVER (2017, Edgar Wright, UK/USA)

68.ONLY THE BRAVE (2017, Joseph Kosinski)

69.KILLING GROUND (2016, Damien Power, Australia)

70.WU KONG (2017, Derek Kwok, China)

71.THREE MAIDENS (1956, Usmar Ismail, Indonesia)

72.HOLY MESS (2015, Helena Bergström, Sweden)

73.RYAN’S DAUGHTER (1970, David Lean, UK, 206min)

74.BRAIN ON FIRE (2016, Gerard Barrett)

75.YOU MEAN THE WORLD TO ME (2017, Teong Hin Saw, Malaysia)

76.BRAD’S STATUS (2017, Mike White)

77.KSHITIJ: A HORIZON (2016, Manouj Kadaamh, India)

78.PERFECT STRANGERS (2016, Paolo Genovese, Italy)

79.THE PIT AND THE PENDULUM (1961, Roger Corman)

80.SECRET SUPERSTAR (2017, Advait Chandan, India, 150min)

81.TURN LEFT TURN RIGHT (2016, Douglas Seok, USA/Cambodia/South Korea)

82.TRÁFICO (1998, João Botelho, Portugal)

83.4 KINGS (2015, Theresa von Eltz, Germany)

84.THE FLOWERS OF ST.FRANCIS (1950, Roberto Rossellini, Italy)  

85.THE BIG BOSS (1971, Lo Wei, Hong Kong)

86.VEVE (2014, Simon Mukali, Kenya)

87.THE INFORMER (1929, Arthur Robison, UK)

88.ANAHY DE LAS MISIONES (1997, Sérgio Silva, Brazil/Argentina)

89.THE EMERALD JUNGLE (1934, Muang Tin Muang, Burma)

90.SOLO, SOLITUDE (2016, Yosep Anggi Noen, Indonesia)

91.AMERICAN MADE (2017, Doug Liman)

92.TUMHARI SULU (2017, Suresh Triveni, India)

93.THE KILLING OF A SACRED DEER (2017, Yorgos Lanthimos)

94.RENGAINE (HOLD BACK) (2012, Rachid Djaidani, France)

95.HARMONIUM (2016, Koji Fukada, Japan)

96.SWEET BEAN (2015, Naomi Kawase, Japan)

97.SOPHIE’S MISFORTUNES (2016, Christophe Honoré, France)

98.THE GOOD, THE BAD AND THE UGLY (1966, Sergio Leone)

99.COMPLIANCE (2012, Craig Zobel)

100.ELLE (2016, Paul Verhoeven, France)


B.FAVORITE THAI SHORT FILMS 2017

This list includes only Thai “fiction” short films which are not longer than 30 minutes.

1.1984 THE LAST DAY OF THE RITE (2017, Pattanapol Suthaporn)

2.FFF (2017, Nonthachan Prakobsup)
วิป

3.WHERE THE SUN NEVER SHINES (2017, Watcharapol Saisongkhroh)
เมืองในหมอก

4.PLAISIRS (2017, Lucy Day)
[This film is directed by a foreigner, but the characters and the setting are Thai, so I included this film in Thai short film list.]

5.HAPPY ENDING (2017, Thanit Vasu Yantrakovit)

6.SONG X (2017, Pathompon Tesprateep)

7.TANK YOU TANK ME TANK US (2017, Pannissa Kuntawat)

8.LET BYGONES BE BYGONES (2017, Chanopas Chanchamroon)
ที่แล้วก็แล้วไป

9.TRIAMO (2017, Pathompong Praesomboon)

10.BANGKOK DYSTOPIA (2017, Patipol Teekayuwat)

11.IF A IS NOT SUBSET OF B (2017, Chutimun Khongtinthan)
ถ้า Aไม่เป็นสับเซตของB

12.VR (2017, Manasak Khlongchainan)

13.THE WAY OF DUST (1999, Prabda Yoon)
ทางของฝุ่น

14.SUPERBUG (2017, Wachara Kanha)
รอ 10 วัน มหันตภัยร้ายใกล้ตัวคนไทย

15.LANGUAGES (2017, Nasrin Cheha, Nureehan Layamung, Niasmalin Hayee-masa)
ภาษาพาวุ่น

16.CITIZEN BOONMA (2017, Uruphong Raksasad)
พลเมืองบุญมา

17.RIPE (2017, Pannaruj Peerachaikarn)
ฝาก

18.HOME (2017, Kanokporn Boonrugchart)

19.EYES MEMORIES (2017, Thanawich Rattanamala)

20.RECONCILIATION (2017, Bhandavis Depchand)
ปรองดอง

21.PIGEON (2017, Pasit Promnumpol)
พิราบ

22.DIPLOPIA (2016,Liew Niyomkarn)

23.THE TIGER CASTLE (2017, Patana Chirawong)
ปราสาทเสือ

24.COMMON SENSE (2017, Chanon Santinatornkul)

25.YELLOW LIGHT (2017, Preechaya Rattanadilokchai)
ไฟเหลือง

26.THE JUDGEMENT (2017, Tuanyazdan Saerae, Tuanyusree Saerae)

27.DONG HUG (2017, Chaiyaporn Jamrasnaew)
ดองฮัก

28.VAPOUR (2015, Apichatpong Weerasethakul)

29.SOMEWHERE ONLY WE KNOW (2017, Suthida Chanasit)

30.YEAH I’M FINE (2017, Kingkarn Suwanjinda)
เราโอเค

31.EVERYBODY’S FINE (2017, Thanakrit Duangmaneeporn)
ทุกคนที่บ้านสบายดี

32.FROM THE EDGE (IN 15 METRES) (2017, Kullapat Klatanakan)
จากเส้นขอบ (ในระยะ 15 เมตร)

33.KILOMETRE ZERO (2017, Torfun Chumaksorn)
กิโลเมตรที่สูญ

34.THAI DAIMARU (1964, Payut Ngaokrachang, advertisement)

35.FELL IN CEMETERY (2017, Jakkrapan Sriwichai)

36.OUT OF REACH (2017, Suriya Ausa)

37.NEVER TOLD YOU BEFORE (2017, Manutchai Raksasat)

38.KNOCKBOARD (2017, Sujinun Jirawattanarat)    

39.DON’T WORRY ABOUT IT (2017, Pasita Seneewong Na Ayudhaya)

40.THE DEBATE (2017, Karan Wongprakarnsanti)
วิวาทะ              

41.AFTER YOU LIE (2017, Ittinunt Rasanont)

42.ANOTHER (2017, Bowornlak Somroob)

43.LEFT, SHE BLOOMS (2017, Primrin Puarat)
สดใสวันบัวบาน

44.WHEN THE HEAVEN WATER FALLS DOWN UPON US (2017, Watjakorn Hankoon)
ยามน้ำฟ้า ตกมาสู่เฮา

45.LANNA (2017, Piyamon Kasom)

46.500,000 YEARS (2016, Chai Siris)

47.17 (2017, Nottapon Boonprakob)

48.THE SERPENT’S SONG (2017, Nuntanat Duangtisarn)

49.WHEN THE RAIN IS FALLING DOWN (2017, Nakhen Puttikulangkura)
ข้างนอกฝนหยุดตกยัง

50.SON OF MAFIA (2017, Sibprapas Auerpitak)
พ่อครับ...ผมอยากเป็นมาเฟีย

51.THE LAST THING (ETC.) ON NEW YEAR’S EVE (2017, Bowornlak Somroob)
เรื่องสุดท้าย (ฯลฯ) ในวันสิ้นปี

52.HAPPYAPPY (2017, Nattawat Lertprasobsuk)

53.OUR HOME SAYS ALL ABOUT US (2017, Pasit Tandaechanurat)

54.SEE YOU AGAIN (2017, Nitiwat Chonwanitsiri)
ฉันเห็นโลกในมุมมองเดียว

55.100 TIMES REPRODUCTION OF A COCK KILLS A CHILD BY PECKING ON THE MOUTH OF AN EARTHEN JAR (2017, Chulayarnnon Siriphol)

56.VACUUM (2017, Supamok Silarak)
สุญญากาศ

57.PLASTIC BAG (2017, Weerapong Wimuktalop)
ถุงพลาสติก

58.FLUMMOXED COCOON (2017, Theerapat Wongpaisarnkit)
ดักแด้โกลาหล

59.MALADY OF US (2017, Tanakit Kitsanayunyong) 
โรคของฉันเธอเขาท่านเหล่านั้น                           

60.THE REASON (2017, Yingyong Wongtakhee)
แด่เธอผู้เดียว -- คนดูหนังที่ไม่มีวันหวนกลับมา

C.FAVORITE THAI FILMS 2017

1.ON THE FRINGE OF SOCIETY [ประชาชนนอก] (1981, Manop Udomdej)

2.GAEW [แก้ว] (1980, Piak Poster)

3.PLAYBOY (AND THE GANG OF CHERRY) (2017, Oompon Kitikamara)

4.UPSIDE, DOWN (2017, Natchanon Vana, Suwanchart Suwanjaroen, 37min)

5.CHTHONIA (2017, Sasipa Songsermsakuldee, 60min)

6.SIAM SQUARE (2017, Pairach Khumwan)

7.THE GIFT: RAINCLOUDS ON THE MOUNTAINS (2017, Chookiat Sakveerakul)

8.LIVE LIKE MISSING (2015, Karnchanit Posawat, 60min)

9.DIE TOMORROW (2017, Nawapol Thamrongrattanarit)

10.HOTEL ANGEL [เทพธิดาโรงแรม] (1974, Chatrichalerm Yukol)

11.#BKKY (2016, Nontawat Numbenchapol)

12.BAD GENIUS [ฉลาดเกมส์โกง] (2017, Nattawut Poonpiriya)

13.BANK-ROBBERS [ต้องปล้น] (1990, Choochai Ong-ardchai)     

14.THE CUPID LAUGHS [กามเทพหัวเราะ] (1978, Sompong Treebuppa)      

15.IF YOU STILL LOVE [ถ้าเธอยังมีรัก] (1981, Chatrichalerm Yukol)

16.THE BOAT HOUSE [เรือนแพ] (1961, Prince Bhanubandhu Yugala + Neramit  พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภาณุพันธ์ยุคล และเนรมิต)

17.SONG FROM PHATTHALUNG [มหาลัยวัวชน] (2017, Boonsong Nakphoo)

18.MEMOIR ฮัลโหล จำเราได้ไหม (2017, Rapeepimol Chaiyasena)

19.THAIBAN THE SERIES [ไทบ้าน เดอะซีรีส์] (2017, Surasak Pongson)

20.HELLO COUNTRYSIDE [สวัสดีบ้านนอก] (1999, Tanit Jitnukul)

21.SEA OF LOVE [ทะเลรัก] (1953, Khun Vijitmatra ขุนวิจิตรมาตรา)

22.SCHOOL TALES [เรื่องผีมีอยู่ว่า] (2017, Pass Patthanakumjon)

23.THE DEVIL [ปีศาจ] (1980, Supan Buranapim)

24.UNSOUND (2017, Nathan Homsup, 34min)

25.MAH [มาห์] (1991, Lertrit Jansanjai เลิศฤทธิ์ จั่นสัญจัย)

26.A LOVE SONG FOR YOU [เพลงรักเพื่อเธอ](1978, Rerngsiri Limaksorn)

27.A NEW LIFE [จนกว่าจะถึง...วันนั้น] (2017, Rujipas Boonprakong, 44min)

28.DRIVER [คนขับรถ] (2017, Thitipan Raksasat)

29.IN THE FLESH (2017, Kong Pahurak)

30.35 KARAT (1979, Rerngsiri Limaksorn)


D.FAVOURITE DOCUMENTARIES 2017

1.THE WAR SHOW (2016, Andreas Dalsgaard, Obaidah Zytoon, Syria/Denmark/Germany/Finland)

2.SELF AND OTHERS (2000, Makoto Sato, Japan)

3.DEPTH TWO (2016, Ognjen Glanovic, Serbia)

4.SEVEN UP! (1964, Paul Almond, UK) + 7 PLUS SEVEN (1970, Michael Apted) + 21 UP (1977) + 28 UP (1984) + 49 UP (2005) + 56 UP (2012)

5.RAILWAY SLEEPERS (2016, Sompot Chidgasornpongse)

6.WORD IS OUT (1977, Nancy Adair, Rob Epstein, Andrew Brown, 124min)


7.THE SOCIOLOGIST AND THE BEAR CUB (2016, Etienne Chaillou, Mathias Théry, France)

8.A157 (2015, Behrouz Nouranipour, Iran/Syria)

9.PIGS IN PIGSTY [หมูในเล้า] (2017, Kongphob Chairattanangkul, 16min)

10.LUMIÈRE! (2016, Thierry Frémaux, France)

11.MANUFACTURING CONSENT: NOAM CHOMSKY AND THE MEDIA (1992, Mark Achbar + Peter Wintonick, Australia/Canada/Finland/Norway, 167min)

12.THE RETURN TO HOMS (2013, Talal Derki, Syria/Germany)

13.FIRE AT SEA (2016, Gianfranco Rosi, Italy)

14.ABSENT WITHOUT LEAVE (2016, Lau Kek-huat, Malaysia)

15.A CREMATION DAY [กาลนาน] (2017, Napasin Samkaewcham, 15min)

16.SAWANKHALAI [สวรรคาลัย] (2017, Abhichon Rattanabhayon, 15min)

17.PHANTOM OF ILLUMINATION (2017, Wattanapume Laisuwanchai)    

18.DUM SPIRO SPERO (2016, Pero Kvesic, Croatia)       

19.LITTLE SONS (2016, Sai Whira Linn Khant, Yu Par Mo Mo, Nay Chi Myat Noe Wint, Myanmar, 24min)                                             

20.I AM NOT YOUR NEGRO (2016, Raoul Peck)

21.THE GRADUATION (2016, Claire Simon, France)

22.HUMAN FLOW (2017, Ai Weiwei, 140min)

23.14/10/2016 – THE DAY AFTER (2017, Teeraphan Ngowjeenanan, 127min)

24.ARKONG [อากง] (2016, Anuwat Amnajkasem, 23min)

25.SOUND OF TORTURE (2013, Keren Shayo, Israel, 58min)

26.YELLOWING (2016, Tze Woon Chan, Hong Kong)

27.FIVE BROKEN CAMERAS (2011, Emad Burnat, Guy Davidi, Palestine)

28.A.K.A. SERIAL KILLER (1969, Masao Adachi, Japan)

29.TALADNOI STORY (2017, Jiraporn Saelee, 39min)

30.SONG OF LAHORE (2015, Sharmeen Obaid-Chinoy, Andy Schocken, USA/Pakistan)

31.I’M YOUNG? I’M SILLY? I’M AMAZED! [ฉันเยาว์?ฉันเขลา? ฉันทึ่ง!] (2017, Thunska Pansittivorakul, 79min)

32.READY IN 5 MINUTES (2016, Swam Yaund Ni, Myanmar)

33.ALONG THE ONE WAY (2016, Bani Nasution, Indonesia)

34.JACKSON (2016, Maisie Crow)
                                          
35.SO FAR REAL (2016, Miriam Bajtala, Austria, 30min)

36.TWO WAY JESUS (2016, Jet Leyco, Philippines)

37.HOW FAR A BETTER LIFE [เรื่องเล่าจากดอนโจด] (2017, Chantana Tiprachartฉันทนา ทิพย์ประชาติ, 20min)

38.SAMANERA (2016, Tay Zar Win Htun, Zaw Win Htwe, Myanmar, 45min)

39.THE SOIL OF DREAMS (2016, Jeffrie Po, Philippines, 53min)

40.HOMME LESS (2014, Thomas Wirthensohn, Austria)

41.MOTION OF LIFE (2013, Vilayphong Phongsavanh, Laos, 17min)

42.THE END OF THE SPECIAL TIME WE WERE ALLOWED (2013, Shingo Ohta, Japan)

43.ONE SHOT – AN IMAGE & AN ATTITUDE (2015, Darren McCagh, Australia)

44.THE AMNESTY FOR THE DEFENDANTS IN THE CASE OF 6 OCTOBER [นิรโทษกรรมจำเลยคดี 6 ตุลา] (1978, 54min)

45.CITY OF JADE (2016, Midi Z, Myanmar)

46.SASIWIMOL [ศศิวิมล] (2017, Rewadee Ngamloon เรวดี งามลุน)

47.LIFE, ANIMATED (2016, Roger Ross Williams)

48.“PAI” YOU KNOW ME  A LITTLE GO (2017, Jamon Sonpednarin จามร ศรเพชรนรินทร์, 12min)

49.KING COBRA BATTALION [กองพันจงอางศึก] (1967, Thai Ministry of Defence กองทัพไทย กระทรวงกลาโหม, 14min)

50.A ROYAL CREMATION FOR KING RAMA VI [พระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว] (1926, News Bureau in Department of Royal Train กองภาพยนตร์เผยแผ่ข่าว กรมรถไฟหลวง, 10min)

51.THE FORGER (2016, Pamela Druckerman, Samantha Stark, Alexandra Garcia)

52.LIFE IS A ROCK ‘N’ ROLL [LA VIDA ES UN ROCANROL] (2014, Inés Morales, Mexico, 10min)   

53.THE HORN (2016, Frederik Jan Depickere, Belgium/Canada, 50min)

54.FAKE (2016, Tatsuya Mori, Japan)

55.HOUSE OF Z (2016, Sandy Chronopoulos, USA/Canada)

56.WE ARE X (2016, Stephen Kijak, UK/USA/Japan)

57.MY BUDDHA IS PUNK (2015, Andreas Hartmann, Germany/Myanmar)

58.A WORLD NOT OURS (2012, Mahdi Fleifel, UK/Lebanon/Denmark/UAE)

59.THE LAST INSURRECTION (2016, Liao Jian-hua, Taiwan)

60.AR-YING SAEJANG [อาญิง แซ่จาง] (2016, Kiattisak Kingkaewเกียรติศักดิ์ กิ่งแก้ว, 28min)


E.FAVOURITE FOREIGN SHORT FILMS 2017

1.AND THEN THERE WERE NONE (2016, Yeon Jeong, South Korea, 30-minute excerpt from the original 63-minute video)

2.IF YOU LEAVE (2016, Dodo Dayao, Philippines)

3.DRAFTS [NHÁP] (2017, Nah Fan, Vietnam)

4.THREE ENCHANTMENTS (2016, Jon Lazam, Philippines)

5.A NICE PLACE TO LEAVE (2016, Maya Connors, Germany)

6.TEN YEARS: SEASON OF THE END (2015, Wong Fei-Pang, Hong Kong)

7.EXIT (2016, David King, Australia)       

8.THE TURBULENCE OF SEA AND BLOOD (2017, Sarah Abu Abdallah)

9.FOURTEEN DEGREES CELSIUS, A HUNDRED MILES PER HOUR (2015, Nyi Lynn Htet, Myanmar)

10.MAWTIN JETTY (2015, Ten Men, Myanmar)

11.THE PROVISIONAL DEATH OF BEES (2016, Maryam Firuzi, Iran)

12.OH WHAT A WONDERFUL FEELING (2016, François Jaros, Canada)

13.WHEN YOU AWAKE (2016, Jay Rosenblatt)

14.PORT (2016, Hiroshi Sunairi)

15.CARGA (2017, Luís Campos, Portugal)

16.SHADOWS (2015, Scott Barley, UK)

17.CHAN KEO (2017, Sonepasith Phonphila, Laos)

18.FATIMA MARIE TORRES AND THE INVASION OF SPACE SHUTTLE PINAS 25 (2016, Carlo Manatad, Philippines)

19.PUERTO RICO TAUTOLOGY (14 DUBS HIGH) (2016, Rob Fuelner, Canada)

20.PIRACY (2017, Jon Lazam, Philippines)

21.ILLE LACRIMAS (2014, Scott Barley, UK) 

22.MAO SHAN WANG (2016, Khym Fong, Singapore)

23.STRNG PLCE (2016, Chloe Yap Mun Ee, Malaysia)

24.THE HAUNTED HOUSE (1907, Segundo de Chomón, France)      

25.CONTACT (2017, Cao Tran Viet Son, Vietnam)

26.FANTASMATA (2015, Dimension Émotionnelle, France)

27.LIKE UMBRELLA, LIKE KING (2015, Moe Satt, Myanmar)

28.NA WEWE (2010, Ivan Goldschmidt, Belgium)

29.FLOWERS IN THE WALL (2016, Eden Junjung, Indonesia)   

30.JAMAIS-VU (2016, Werner Biedermann, Germany)

31.HOW TO BE YOUR SELF (CHAPTER 01 – I EXPERIENCE REAL LIFE) (2008, Baptist Coelho)

32.JANUS COLLAPSE (2016, Adham Faramawy)

33.COPS (1922, Edward F. Cline, Buster Keaton)

34.OVERLOVE (2017, Lucas Helth, Denmark)

35.PANTHÉON DISCOUNT (2016, Stéphan Castang, France)

36.TROPICAL SIESTA (2017, Phan Thao Nguyen, Vietnam)

37.ANCHORAGE PROHIBITED (2015, Chiang Wei Liang, Singapore)

38.FALLING IN LOVE AGAIN (2016, Jacky Yeap, Malaysia)

39.ASCENSION (2016, Pedro Peralta, Portugal)

40.THE FEAR INSTALLATION (2016, Ricardo Leite, Portugal)


F.FAVOURITE ANIMATIONS 2017
            
1.IN THIS CORNER OF THE WORLD (2016, Sunao Katabuchi, Japan)

2.BOY AND THE WORLD (2013, Alê Abreu, Brazil)           

3.COCO (2017, Lee Unkrich)

4.JOLLY DOLL SHOP (2017, Natthapa Chansamakrณัฐภา จันทร์สมัคร, 4min)

5.SAUSAGE PARTY (2016, Greg Tiernan, Conrad Vernon)

6.THE RED TURTLE (2016, Michael Dudok de Wit, France/Belgium/Japan)

7.AND THE MOON STANDS STILL (2017, Yulia Ruditskaya, Belarus/Germany/USA, 11min)

8.WHATEVER THE WEATHER (2016, Remo Scherrer, Switzerland, 11min)

9.THE BLUE BABY (2017, Pasut Thanawuthwasinพศุตม์ ธนาวุฒิวศิน, 15min)

10.THE MAN WHO JAILED (2017, Patr Tekittipongภัทร เตกิตติพงษ์, 5min)

11.MY LIFE AS A ZUCCHINI (2016, Claude Barras, Switzerland/France)

12.A SILENT VOICE (2016, Naoko Yamada, Japan)

13.SHINE (2017, Kraisit Bhokasawat ไกรสิทธิ์ โภคสวัสดิ์, 2min)

14.LA ÚLTIMA CENA (2014, Vanessa Quintanilla Cobo, Mexico, 10min)

 15.THE REASONS OF TEARS [เหตุผลของน้ำตา](2017, Patcharee Iampiboonwattanaพัชรี เอี่ยมพิบูลย์วัฒนา, 4min)

16.THE TEACHER AND THE FLOWER [EL MAESTRO Y LA FLOR] (2014, Daniel Irabien, Mexico, 9min)

17.SLEEPLESS DREAM [ณ ภวังค์] (2016, Pinpamon Chirattikanpun ปิ่นปมน  จิรัฐิติกาลพันธุ์, 6min)

18.LOUISE BY THE SHORE (2016, Jean-François Laguionie, France)

19.THE LEGO BATMAN MOVIE (2017, Chris McKay, USA/Denmark)

20.ONCE UPON A THREAD [FOI O FIO] (2014, Patricia Figueiredo, Portugal, 5min)

21.Q (2016, James Bascara, 4min)

22.KUROKO’S BASKETBALL: LAST GAME (2017, Shunsuke Tada, Japan)

23.THE OGRE (2017, Laurène Braibant, France, 10min)

24.DETECTIVE CONAN: CRIMSON LOVE LETTER (2017, Kobun Shizuno, Japan)

25.FIREWORKS (2017, Akiyuki Shinbo, Nobuyuki Takeuchi, Japan)


G.FAVOURITE VIDEO INSTALLATIONS 2017
                                                                            
1.AMERICAN BOYFRIEND: THE OCEAN VIEW RESORT (2013, Miyagi Futoshi, Japan)

2.SCREEN GREEN (2015, Ho Rui An, Singapore)

3.246247596248914102516...AND THEN THERE WERE NONE (2017, Arin Rungjang)

4.BLUE STONE (2017, Tanatchai Bandasak)           

5.MY MOTHER’S GARDEN (2007, Apichatpong Weerasethakul)

6.KRIS PROJECT II: IF THE PARTY GOES ON (2016, Au Sow-Yee, Malaysia)

7.DAY BY DAY (2014-2015, Nguyen Thi Thanh Mai, Vietnam/Cambodia)

8.SHEEP (2017, Samak Kosem)

9.EXPANDED CINEMA PERFORMANCE BY ARNONT NONGYAO

10.GUNKANJIMA (2010, Louidgi Beltrame, Japan)

11.TROUBLE IN PARADISE (2017, Taiki Sakpisit)

12.AM I A HOUSE? (2005, Erwin Wurm)

13.WHEN NEED MOVES THE EARTH (2014, Sutthirat Supaparinya)

14.PROVISORY OBJECT 03 (2004, Edith Dekyndt)

15.KIRATI’S (MOVING) IMAGE (2017, Chulayarnnon Siriphol)

16.I AM LOOKING FOR SOMETHING TO BELIEVE IN (2007, Elisa Pône)

17.BEYOND GEOGRAPHY (2012, Li Ran, China)

18.D’APRÈS CASPAR DAVID FRIEDRICH (2006, Sarkis)

19.59 POSITIONS (1992, Erwin Wurm)

20.FEROCITY (2017, Narasit Kaesaprasit)

FILMS SEEN IN CINEMORE 2018

$
0
0

FILMS SEEN IN CINEMORE 2018

1.โตโต้คนมหากาฬตามล่าฆ่าเสี่ยที่เลียหือน้องกู (พิชชากร มกุลพานิช, A+30)
ตอนดูจบใหม่ๆชอบแค่ระดับ A+15แต่พอเวลาผ่านไปเรื่อยๆก็พบว่าคงต้องให้หนังเรื่องนี้ติดอันดับประจำปีอย่างแน่นอน เพราะทุกครั้งที่คิดถึงหนังเรื่องนี้ เราต้องหัวเราะออกมา 555 ชอบวัฒนธรรมการพากย์เสียงทับ, ชอบการล้อเลียนหนังบู๊, ชอบที่พระเอกหล่อ, ชอบที่ตัวละครพระเอกเคยเป็นผู้ชายขายตัวมาก่อน แต่ก็มีความสามารถทางการบู๊ต่อยตีกับผู้ร้าย และที่สำคัญก็คือว่า เรารู้สึกเหมือนตัวเองเป็นนางเอกหนังเรื่องนี้ 555

2.ดอนหอ (ศักดิ์ดา ประมูลทอง, documentary, A+20)

ชอบประเด็นเรื่องผีๆสางๆมากๆ อยากให้หนังยาวกว่านี้หรือเจาะลึกกว่านี้

3.SAME (อังคณา เมืองมูล, A+20)

รู้สึกว่าหนังสามารถดึงเสน่ห์ของตัวพระเอกออกมาได้ คือหนังโรแมนติกนี่ เราจะอินหรือไม่อินก็ขึ้นอยู่กับความน่ารักของพระเอกเป็นปัจจัยสำคัญ และจริงๆแล้วความหล่อของนักแสดงอาจจะไม่ใช่ปัจจัยสำคัญเท่ากับว่า ผู้กำกับสามารถดึงเสน่ห์ของนักแสดงออกมาได้หรือเปล่า และเราว่าผู้กำกับหนังเรื่องนี้ดึงเสน่ห์ของตัวนักแสดงชายออกมาได้ เราก็เลยชอบหนังมากๆ

แต่จริงๆแล้วอยากให้หนังสะท้อน “สังคมเพื่อนๆ”  ที่อยู่ล้อมรอบตัวพระเอกนางเอกออกมาด้วยนะ คือเรารู้สึกว่าพระเอกนางเอกหนังเรื่องนี้ดูลอยๆหน่อยน่ะ เพราะเราไม่เห็นเพื่อนๆคนอื่นๆรอบตัวพระเอกนางเอกเลย มันก็เลยดูเหมือนหนังขาดอะไรบางอย่างไป

4.THE LAWS OF LOVE รักบังคับจับแต่ง (ศิวพันธ์ บุณยรัตพันธุ์, A+15)

ชอบไอเดียตั้งต้นของหนังเรื่องนี้มากๆ คือการตั้งต้นเป็นหนังไซไฟโลกอนาคต มันช่วยให้หนังเรื่องนี้โดดเด่นขึ้นมาจากหนังนักศึกษาโดยทั่วไปน่ะ แต่พอเล่าเรื่องไปเรื่อยๆ ก็รู้สึกว่าเนื้อเรื่องมันเชยมาก คือความสัมพันธ์ของพระเอก-นางเอกหนังเรื่องนี้นึกว่ามาจากนิตยสารสกุลไทยเมื่อ 40 ปีก่อน 555 แต่ปรากฏว่าหนังจบได้ดีเกินคาด สรุปว่าชอบตอนต้นกับตอนจบ แต่เฉยๆกับช่วงกลางเรื่อง

5.WHATEVER (ชญานิน เกิดมี, A+15)

หนังน่ารักดี ชอบการเปิดตัวตัวละครแต่ละคน

6.คนหวยรวย (เจนจิรา กิจเจริญ, A+15)

เป็นหนังที่ตอบสนองความปรารถนาส่วนลึกของเรามากๆ นั่นก็คือการถูกหวย ดูแล้วมีความสุข คือมีความสุขไปกับจินตนาการชั่วครู่ชั่วยามที่ว่า ถ้าหากเราถูกหวยเลขท้ายสองตัวสามตัวไปเรื่อยๆแบบนางเอกหนังเรื่องนี้ ชีวิตเราจะดีสักแค่ไหน 555

เราว่าไอเดียเริ่มต้นของหนังเรื่องนี้มันดีน่ะ คือเนื้อเรื่องโดยรวมมันอาจจะไม่ได้ดีมากนัก แต่พล็อตหลักของมันที่พูดถึงการเล่นหวย มันช่วยให้หนังเรื่องนี้มีพล็อตเรื่องที่แตกต่างหรือโดดเด่นออกมาจากหนังนักศึกษาเรื่องอื่นๆ

7.คน ธรรม ดี (ธรณ์ธันย์ ฟักฟูมทน, A+10)

ชอบ setting ของหนังเรื่องนี้ แต่เหมือนหนังมีแค่องก์หนึ่งกับองก์สอง แต่ขาดองก์สาม

8.โตมะโต (ธีรดนย์ กุวะสาร, documentary, A+10)

ชอบมากที่หนังไปสัมภาษณ์คนที่มีความเห็นทางการเมืองตรงข้ามกับเรา โดยที่ตัวหนังเองก็คงไม่ได้ตั้งใจ คือหนังคงกะแค่สัมภาษณ์คนปลูกมะเขือเทศ แต่ปรากฏว่าคนปลูกมะเขือเทศรายนี้ดันมีความเห็นทางการเมืองที่ตรงข้ามกับเราด้วย

แต่อยากให้หนังสัมภาษณ์คนปลูกมะเขือเทศหรือพืชไร่หลายๆคนนะ คือการได้ดูบทสัมภาษณ์แค่คนเดียวแบบนี้มันเหมือนกับเราได้อ่านหนังสือแค่ “หนึ่งย่อหน้า” น่ะ แทนที่จะได้อ่านทั้งบทความ

9.กระดานดำ REPEATED (วัชรพงศ์ เพชรา, A+10)

เราว่าหนังสอบผ่านด้านการสร้างบรรยากาศ คือดูแล้วนึกถึงหนังอย่าง SIAM SQUARE (2017)  ในแง่บรรยากาศน่ากลัว หลอนๆ แต่เนื้อเรื่องตรงส่วนเฉลยทำให้หนังดูแย่ลง

10.THE MOLEST (ธีรดนย์ กุวะสาร, A+10)

ระหว่างดูจะรู้สึกว่าสนุกดี แต่พอดูจนจบแล้วรู้สึกว่ามันจบไม่ค่อยสนุก

11.SATURDAY (ชาญวิช จันทรมี, A+5)

12.บ้าน (ธราธิป ผลสุขขา, A+)

13.มโนคม (จักรพงษ์ วิวัฒน์ศิลป์, A+)

14.BAD LOVE (กิตติพงษ์ แซ่ซือ, A+)

15.CHOICE (เมธัศ คอมเพ็ชร, A+)

16.THE STORM (ศิวพันธ์ บุณยรัตพันธุ์, รัฐพล วิไล,documentary, A)

17.#MEMORYME (ธีรดนย์ มีสวย, A)

18.SNAPPISH (อัครพล ฤทธิจันทร์, A-)

19.ห้องน้ำ (กฤษฎิพัศย์ เศวษจินดา, A-)

20.ระหว่างทาง (อรรณพ รวยสิริสมบัติ, A-)

21.ถ่อยLET (ศุภโชค พลับทอง, B )

BANGKOK JOYRIDE: CHAPTER 2 – SHUTDOWN BANGKOK (2017, Ing K., documentary, A+15)

$
0
0

BANGKOK JOYRIDE: CHAPTER 2 – SHUTDOWN BANGKOK (2017, Ing K., documentary, A+15)

1.ตอนดูจะนึกถึงหนังสารคดีเรื่อง “ทวาทศมาส” (2013, Punlop Horharin, 222min) ในแง่ที่ว่า เราไม่ได้ชอบทั้ง “เทคนิค” และ “เนื้อหา” ของทั้งหนังเรื่องนี้และทวาทศมาส แต่ชอบที่หนังได้บันทึกสิ่งต่างๆเอาไว้ คือการที่หนังสองเรื่องนี้ได้บันทึกสิ่งต่างๆเหล่านี้เอาไว้มันน่าจะมีคุณค่ามากขึ้นเรื่อยๆเมื่อเวลาผ่านไปน่ะ

สรุปว่าเราไม่ได้ชอบหนังเรื่องนี้ทั้งในแง่ filmmakingและ attitude แต่ชอบที่มันเป็นบันทึกทางประวัติศาสตร์ และในแง่นึงมันคือ jigsaw ที่หายไปสำหรับเรา เพราะเราได้ดูหนังเรื่อง THIS FILM HASBEEN INVALID (2014, Watcharapol Saisongkroh), THIS FILM HAS BEEN INVALID TOO (2014, Theeraphat Ngathong), I WISH THE WHOLE COUNTRY WOULD SINK UNDER WATER (2014, Theeraphat Ngathong), AWARENESS ภาษาที่เธอไม่เข้าใจ (2014, Wachara Kanha), ท้องฟ้าในวันที่ 1 พฤศจิกายน พุทธศักราช 2556 (2013, Theeraphat Ngathong), ถาม-ตอบ (2014, Patiparn Amorntipparat), MYTH OF MODERNITY (2014, Chulayarnnon Siriphol), etc. ไปแล้ว มันก็เหมือนกับว่าเราได้ดู jigsaws ของมุมมองเหตุการณ์จากทางฝั่งเราไปมากแล้ว การได้ดูหนังเรื่องนี้ก็เลยเหมือนช่วยให้เราได้เห็น jigsaw ของอีกฝั่งนึง

2.เราชอบหนังเรื่องนี้ในแง่บันทึกทางประวัติศาสตร์ในแง่ที่ว่า อย่างน้อยมันก็บันทึกไว้ว่า ผู้ที่ต่อสู้กับรัฐบาลที่มาจากการเลือกตั้งในตอนนั้น มี “สิทธิและเสรีภาพ” มากน้อยเพียงใดในการแสดงออกถึงสิ่งที่ตัวเองคิด ผู้ชมสามารถเห็นได้ว่า คนแต่ละคนในกลุ่มนี้ “สามารถพูดและทำอะไรได้บ้าง” หรือ “สามารถแสดงความเกลียดชังได้ทางการกระทำใดบ้าง” และผู้ชมแต่ละคนก็สามารถเปรียบเทียบได้เองว่า ฝ่ายที่อยู่ตรงข้ามกับคนกลุ่มนั้นมี “สิทธิและเสรีภาพ” มากน้อยเพียงใดในการแสดงออกแบบเดียวกัน โดยเฉพาะในช่วง 4 ปีที่ผ่านมา

3.เมื่อวานเพิ่งดูหนังเรื่อง COLD SKIN (2017, Xavier Gens,A+30)  และไปๆมาๆปรากฏว่า ประโยคเปิดของหนังเรื่องของ COLD SKIN วนเวียนอยู่ในหัวของเราตลอดเวลาที่ดู BANGKOK JOYRIDE ภาคสอง โดยประโยคเปิดของหนังเรื่อง COLD SKIN เป็นการ quote คำพูดของ Friedrich Nietzsche ที่ว่า

“Beware that, when fighting monsters, you yourself do not become a monster... for when you gaze long into the abyss. The abyss gazes also into you.”

 

4.ดูแล้วนึกถึงเหตุการณ์ 6 ตุลา




FAVORITE BOOKS

$
0
0

ได้รับ tag จาก Nongmod Chintragoonvattana ให้โพสท์หนังสือที่ชอบ 7 เล่ม #IReadThereforeIAm777

เราก็เลยโพสท์รายชื่อนี้รวมกันไปเลยในคราวเดียวนะ 555 แล้วก็คงไม่ tagคนอื่นต่อ

1.ABSENCE – Peter Handke
2.FILMVIRUS 2 (2001)
3.GODARD ON GODARD (1968)
4.RECOLLECTIONS OF THE GOLDEN TRIANGLE (1978)Alain Robbe-Grillet
5.นิราศมหรรณพ (2015) ของ ปราปต์
6.สมมุติว่า เขารักฉัน กฤษณา อโศกสิน
7.สัมภเวสี – ตรี อภิรุม

SAMPAWESEE

$
0
0

สัมภเวสีเป็นนิยายเรื่องแรกของตรี อภิรุมที่ได้อ่าน พออ่านแล้วก็ตกตะลึงพรึงเพริดไปเลย เพราะรู้สึกถูกโฉลกกับจักรวาลของตรี อภิรุมอย่างมากๆ คือก่อนหน้านั้นเราชอบ “นิยายผีๆ” หรือนิยาย horror อยู่แล้ว ประเภทนิยายของจินตวีร์ วิวัธน์ และ แก้วเก้า น่ะ แต่นิยายประเภทนี้มันมักจะมีตัวเอกเป็นคนธรรมดา และต้องเผชิญหน้ากับผีหรือสิ่งศักดิ์สิทธิ์กลุ่มนึง คือมันเหมือนเป็นเรื่องระหว่างพระเอก-นางเอก ปะทะกับภูตผีปีศาจที่เฉพาะเจาะจงตัวนึงหรือกลุ่มนึงน่ะ มันเลยเหมือนเป็นอะไรที่ “แคบๆ”

แต่สัมภเวสีมันเป็นเรื่องของนางเอกที่มีพลังจิต และต้องปะทะกับภูตผีปีศาจอะไรก็ไม่รู้มากมายเต็มไปหมด โดยมีกฎ, กติกา หรือมีหลักเกณฑ์อะไรต่างๆมากมายในการปะทะกัน คือมันเป็น “จักรวาล” ที่น่าเข้าไปเล่น หรือมีพื้นที่ต่างๆมากมายให้เราจินตนาการอะไรเพิ่มเติมได้น่ะ คือ “จักรวาล” ของตรี อภิรุม มันเหมือนเปิดพื้นที่ให้เราจินตนาการถึง “เวมาณิกเปรต”, “สามเณรีเปรต”, เทพชั้นจาตุมหาราชิกาที่เป็นอันธพาล, เครื่องรางของขลังต่างๆที่มีอิทธิฤทธิ์ต่างๆกันไป, คุณไสยต่างๆที่มีอิทธิฤทธิ์ต่างๆกันไป, อีเป๋อ, การเจิมหัว, รักยม, อาฏาฏิยปริตร, ขันธปริตร ฯลฯ คือนิยายของตรี อภิรุมมันตั้งอยู่บนโลกไสยศาสตร์ที่มีอะไรต่างๆนานาน่าสนใจ, น่าเล่น, น่าจินตนาการถึงมากมายเต็มไปหมด ในขณะที่นิยายของจินตวีร์ วิวัธน์ กับแก้วเก้ามันเป็นเรื่องของ “พระเอก-นางเอก ปะทะกับภูตผีปีศาจร้าย” แต่มันไม่ได้เชื่อมโยงกับโลกไสยศาสตร์ที่มีอะไรน่าสนใจมากมายแบบนิยายของตรี อภิรุม

PLEASE GIVE ME SOME LOVE (1992, Apichart Popairoj, A+30)

$
0
0

PLEASE GIVE ME SOME LOVE (1992, Apichart Popairoj, A+30)
ขอความรักบ้างได้ไหม (อภิชาติ โพธิไพโรจน์)

1.ชอบความ “ฤดูใบไม้ร่วง” ของหนังเรื่องนี้มากๆ เหมือนเป็นหนังไทยเรื่องเดียวที่เรานึกออกในตอนนี้ที่เน้นบรรยากาศของความเป็นฤดูใบไม้ร่วงในไทย

คือฤดูใบไม้ร่วงในไทยมันเหมือนไม่มีอยู่จริง แต่เราจำได้ว่าตอนเด็กๆมันเหมือนจะมีช่วงเวลาสัก 1-2 สัปดาห์ในเดือนพฤศจิกายนที่เราจะเห็นใบไม้ร่วงหนักมาก ก่อนจะเข้าสู่ฤดูหนาว แต่เราไม่รู้ว่าพอเราโตขึ้นมา หรือตั้งแต่ทศวรรษ 1990 เป็นต้นมา มันยังมีช่วงเวลาแบบนี้ในกรุงเทพอยู่หรือเปล่า คือมันอาจจะยังมีอยู่ก็ได้ แต่เราไม่ทันสังเกตเอง

อย่างไรก็ดี ไม่ว่า “ช่วงเวลาใบไม้ร่วง” ในไทยจะยังมีอยู่หรือไม่ เราก็รู้สึกว่าการที่หนังเรื่องนี้เน้นอะไรแบบนี้อย่างรุนแรง มันก็เลยทำให้หนังเรื่องนี้แตกต่างจากหนังไทยเรื่องอื่นๆ

2.ชอบความ “ไม่เป็นโล้เป็นพาย” ของหนุ่มสาวในหนังเรื่องนี้มากๆ ทำให้นึกถึงหนังอย่าง REGULAR LOVERS (1992, Philippe Garrel) คือหนุ่มสาวในหนังเรื่องนี้เหมือนจะมีพลังอะไรบางอย่าง แต่ในที่สุดก็ไปไม่ถึงไหน

3.เราว่าหนังค่อนข้างประณีตเรื่อง mise en scene, การถ่ายภาพ, การจัดแสง แต่เสียดายที่คงหาฟิล์มต้นฉบับไม่ได้แล้ว เราก็เลยได้แต่ “จินตนาการ” เอาเองว่าภาพที่สมบูรณ์ของหนังเรื่องนี้มันจะเป็นอย่างไร

4.ความไม่สมบูรณ์ของหนังที่มีอยู่ในตอนนี้ทำให้หนังเรื่องนี้กลายเป็น “หนังทดลอง” โดยไม่ได้ตั้งใจ 555 คือ mise en scene ของหนังเรื่องนี้จงใจเน้น “ธรรมชาติ” เพราะฉะนั้นในหลายๆช็อต หลายๆซีน ตัวละครมักจะปรากฏตัวอยู่ทางมุมขวาล่างของจอ ในขณะที่พื้นที่ 90% ของจอจะเป็นภาพธรรมชาติอันกว้างใหญ่ไพศาล แต่พอหนังเรื่องนี้ไม่มี original film ที่สมบูรณ์ แต่เหมือนเป็นภาพที่แค็ปมาจากวิดีโอหรือวีซีดีที่เกือบจะเป็นสี่เหลี่ยมจัตุรัส เพราะฉะนั้นในหลายๆซีนตัวละครจะตกขอบจอไป 555 เราจะเห็นแต่ภาพธรรมชาติทั้งจอ และเห็นอวัยวะบางส่วนของตัวละครแทรกเข้ามาที่มุมขวาล่างของจอ และได้ยินเสียงตัวละครคุยกัน เพราะฉะนั้นในหลายๆช็อต คนดูต้องจินตนาการเอาเองถึงสิ่งที่อยู่offscreen นั่นก็คือ “ภาพตัวละคร” เพราะตัวละครตกขอบจอไปเกือบหมดแล้ว 555

5.สรุปว่าชอบอภิชาติ โพธิไพโรจน์มากพอสมควร เพราะเคยดู “ถามหาความรัก” (1984) และ “เพื่อน” (1986) ที่เขากำกับ และรู้สึกว่าเขาเป็นผู้กำกับที่ทำหนังโอเคคนนึง


PHANTOM ISLANDS (2018, Rouzbeh Rashidi, Ireland, A+30)

$
0
0

PHANTOM ISLANDS (2018, Rouzbeh Rashidi, Ireland, A+30)

1. Though the film’s synopsis seems to focus on the boundary between documentary and fiction, that is not what I paid attention to at all when I watched this film.  As for me, the film seems very fictional, due to the acting scenes of the couple which are interspersed throughout the film, and due to the haunting soundtrack. These factors make the film seem very different from traditional documentaries, which aim to give some useful information to the viewers. So when I watched this film, I paid no attention to the purpose of the filmmaker. I don’t care what the filmmaker was trying to say or to explore while making this film. I only care about how the film affects me. And this film makes me feel as if it is an adventure film which invites each viewer to create his/her own narrative or story.

2. So when I was watching this film, I created my own story while watching it. In my imagination, the film can be used to tell an adventure story like in Dan Brown’s novels or like THE WEIRDSTONE OF BRISINGAMEN (1960, Alan Garner). The film can be used to tell a story of a couple who try to search for the lost treasure of the kingdom of Cantre’r Gwaelod, or the treasure of Atlantis, or some magical things, or the door to Twilight Zone, or a magical island which has something they are looking for, such as a cure for their sleeping sickness, or a weapon which can be used to fight a witch who once put a sleeping spell on them and put some strange poison in the man’s blood (That’s why the man seems to be in agony from time to time. Hahaha).

In order to find the treasure/magical things/magical island, the couple must search for hidden clues and puzzles lying in castles’ ruins and many other places in Ireland. That’s why the couple are always wandering around, and lead us to experience the beauty of Ireland, including beautiful forests, meadows, and seashores. There is also a man who secretly pursues the couple, in order to get hold of the treasure/magical thing before them. The woman is armed by a magical polaroid camera, which can show us things which are invisible to human eyes. The woman can also talk to animals. Horses, white birds, sheep, and cows provide the couple some useful information. But the most important information/clues about the treasure of Cantre’r Gwaelod/Atlantis or the door to magical island comes from the animals in the aquarium—lizards, turtles, fish, sharks, etc. And the clues sometimes appear in the couple’s dreams. Later, the woman has to make some kind of blood sacrifice with the help of some other people, in order to find the next clue to the treasure/island. The door to the magical island will only appear at the right spot, at the right time when some stars are aligned and the tide is right, and at twilight.

That is how I experienced or enjoyed this film. This film is not made for this purpose. It may be made to explore the boundary between fiction and documentary or explore the nature of images or whatever. But I don’t care. Hahaha. I enjoyed it as one of very few films which inspire me to create my own story while watching them.

3.It is interesting to see that this film is dedicated to Jean Epstein, Marguerite Duras, and Andrzej Zulawski. Unfortunately, I haven’t yet seen any films by Jean Epstein. But I can see how the film is related to Duras and Zulawski. I think the scenes of the couple may be inspired by Zulawski, because these scenes are full of exaggerated gestures. The love of the couple and the quarrels between them are expressed with exaggerated emotions like in Zulawski’s films, I guess.

Some nature scenes may be inspired by Duras, or at least these scenes remind me of such films as AGATHA AND THE LIMITLESS READINGS (1981, Marguerite Duras) or HER VENETIAN NAME IN CALCUTTA DESERT (1976, Marguerite Duras), which tell stories via scenes of empty landscapes.

The difference from Zulawski and Duras is that the films of Zulawski and Duras tell stories, but PHANTOM ISLANDS doesn’t tell any stories, though some viewers like I can create a story by themselves.

4. While I was watching PHANTOM ISLANDS, it unintentionally reminds me of two films by Christelle Lheureux, which are:

4.1 I FORGOT THE TITLE (2008), because I FORGOT THE TITLE also shows us a couple in a misty, mysterious island. It is also an experimental film which tells no exact story. I FORGOT THE TITLE is also very Durasian.

4.2 L’EXPERIENCE PREHISTORIQUE (2003, 80min), because L’EXPERIENCE PREHISTORIQUE presents us images of some Japanese people standing or sitting in a house throughout the film. The original film tells no story, like PHANTOM ISLANDS. But in a way L’EXPERIENCE PREHISTORIQUE tells so many different stories. When the film was shown in Japan, someone was asked to create a story to accompany the film. When the film was shown in France, a French writer created another story for the film. When the film was shown in Bangkok, Prabda Yoon, a famous Thai writer, created a very interesting story about the war in Iraq and its affects on Japanese people for the film. And the film was adapted into so many different stories when it was shown in China, South Korea, Canada, Vietnam, Netherlands, and Switzerland.

So in a way PHANTOM ISLANDS affects me in a similar way to L’EXPERIENCE PREHISTORIQUE. Both films inspire me to create a story by myself, though in the case of L’EXPERIENCE PREHISTORIQUE it is intentional, while in the case of PHANTOM ISLANDS it is unintentional.

5.Because I created my own story while watching PHANTOM ISLANDS, I found that my experience for this film can be compared to my experience for some films of Alain Robbe-Grillet, Jacques Rivette, Teeranit Siangsanoh and Wachara Kanha.

5.1 It reminds me of Alain Robbe-Grillet, because in films such as EDEN AND AFTER (1970, Alain Robbe-Grillet), the focus seems to be on the images of character postures. EDEN AND AFTER is full of strong images. We see characters posing beautifully or strikingly all the time. The relationship between “images” and “story” in Robbe-Grillet’s films is distorted or is very unusual compared to ordinary narrative films. I find that some images and editing in PHANTOM ISLANDS give me the same kind of impressions.

5.2 PHANTOM ISLANDS unintentionally reminds me of Jacques Rivette, because the story that I created by myself somehow can be compared to such films as DUELLE (UNE QUARANTAINE) (1976, Jacques Rivette), which tells a magical story in contemporary settings without special effects or CG. Jacques Rivette is one of my most favorite directors, because he used “everyday settings” or “ordinary places” and created an adventure or an exciting story out of these ordinary places, such as PARIS BELONGS TO US (1961), OUT 1, NOLI ME TANGERE (1971), CELINE AND JULIE GO BOATING (1974), LE PONT DU NORD (1981), GANG OF FOUR (1989), UP DOWN FRAGILE (1995), and VA SAVOIR (2001). Jacques Rivette could turn “ordinary places” into something mysterious or magical. It seems like he saw magic in everyday life. And that’s why PHANTOM ISLANDS reminds me of Rivette, because this film turns images of “ordinary places” into something magical, too, by blurring the edges of the images, and by accompanying the images with haunting soundtrack or sound of invisible things.

5.3 PHANTOM ISLANDS unintentionally reminds me very much of the films by Teeranit Siangsanoh and Wachara Kanha, because these Thai filmmakers made fictional films by using “documentary images” or “images captured from everyday life”. Teeranit and Wachara are zero-budget filmmakers, but they like to make many fictional films. They have no budget to create sets or to hire actors, so they just films many things in their everyday life—views of the roads, views of some deserted houses in Bangkok, views of some wastelands—and also films some landscapes when they travel upcountry, and use these documentary images or “everyday images” to create some fictional stories in their films. In THE LIGHT HOUSE (2011, Teeranit Siangsanoh, 43min), Teeranit can tells us a story of the apocalypse by filming a deserted house. In LOSE (2011, Wachara Kanha, 70min), Wachara tells a fictional story by using some images he filmed while traveling to a seashore. In INVADER (2011, Wachara Kanha, 90min), Wachara tells a sci-fi story about aliens by using images he filmed while walking and playing with friends in a forest. In THE COLD-SKULLED MAN (2013, Teeranit Siangsanoh, 33min), Teeranit tells a sci-fi story by filming images of a farmer living his everyday life. In THE NYMPH or NANG PRAI (2016, Teeranit Siangsanoh, 19min), Teeranit tells a story about the love of a female half-crocodile, half-human, by using mostly documentary images of a tourist spot.

PHANTOM ISLANDS reminds me very much of NANG PRAI, because both films can be divided into two main parts—documentary images of tourist spots and images of actors/actresses doing something. Another similar thing between these two films is that both films show us how “images of something which seems so ordinary” can be turned into something mysteriously powerful or indescribable by the gaze of great directors. In PHANTOM ISLANDS, we see an old man’s face at the beginning of the film. The camera seems to linger on the man’s face longer than usual. And that may be the boundary between documentary and fiction. The scene of a man’s face seems to stop being a documentary and starts to inspire some imagination in the minds of some viewers. In NANG PRAI, we see the heroine combing her hair in an ordinary room for about 5 minutes. There is nothing else happening in the scene. We just see a woman combing her hair while listening to a beautiful old Thai song. In this scene, we see an ordinary woman doing an ordinary thing for a long time. But somehow the gaze of Teeranit can turn images of these ordinary things into one of the most magical scenes of all time in Thai films.

6.In conclusion, I like PHANTOM ISLANDS very much, because it unintentionally inspires me to create some adventure stories inside my head. And I think in some cases the boundary between documentary and fiction doesn’t only depend on the images themselves, but also depends on each director and each viewer. Images or scenes of a tourist spot may be documentary images/scenes in themselves, but when they are devoid of information, and when they are juxtaposed with fictional scenes, they can easily become a part of fictional stories, intentionally as in the case of Teeranit Siangsanoh’s fims, possibly unintentionally as in the case of PHANTOM ISLANDS. Documentary scenes such as the scenes in which the crew of PHANTOM ISLANDS appear in front of the camera or appear in the polaroid photo, or the scene in which a flock of sheep seem to be disturbed by the presence of the filmmaker, may be documentary scenes in themselves, judging by the purpose of the filmmakers, but they can be turned into fictional scenes in my imagination, because the will and imagination of each viewer can play an important part, too.

THE EARTH (Thanet Awsinsiri, video installation, A+30)

$
0
0

THE EARTH (Thanet Awsinsiri, video installation, A+30)

ชอบการที่เอาสองอย่างที่ดูไม่เกี่ยวข้องกันมาเรียงร้อยต่อกัน ซึ่งได้แก่ฉากหญิงเปลือยให้นมลูกท่ามกลางพื้นดินแตกระแหง กับฉากน้ำท่วมประเทศไทย คือมันดูไม่เกี่ยวข้องกันเลย แต่ดูแล้วก็ชอบสุดๆ คือเราว่าสองฉากนี้ถ้าหากอยู่โดดๆ มันก็อาจจะดูน่าสนใจในระดับนึง แต่พอมันเอามาเรียงร้อยต่อกัน ความน่าสนใจก็เลยทวีคูณขึ้นอีกหลายเท่า เพราะการที่มันดูเหมือนไม่เกี่ยวข้องกันทำให้มันเกิดพลังอะไรบางอย่างขึ้นมา แบบที่มักพบได้บ่อยๆในหนังของ Alexander Kluge

เราก็ไม่เข้าใจหรอกว่าวิดีโอนี้มันสื่อถึงอะไร แต่มันทำให้เรานึกถึง “พระแม่ธรณี” และหนังเรื่อง MOTHER! (2017, Darren Aronofsky) โดยไม่ได้ตั้งใจ 555 คือการเอาฉากแม่ให้นมลูกกับฉากน้ำท่วมมาเรียงร้อยต่อกัน ก็เลยทำให้นึกถึง Jennifer Lawrence ที่เหมือนจะรับบทเป็นกึ่งๆพระแม่ธรณีในหนังเรื่องนั้น และพอมนุษย์มาทำเหี้ยๆในโลก (หรือบ้านของตัวละคร) ก็เลยเกิดเหตุการณ์น้ำท่วม (หรือท่อน้ำระเบิดในบ้านหลังนั้น) 555

PARIS -- WHEN IT SIZZLES (1964, Richard Quine, A-)

หนังมีไอเดียตั้งต้นที่น่าสนใจนะ นั่นก็คือการยั่วล้อโครงสร้างบทภาพยนตร์เมนสตรีม หนังเล่าเรื่องนักเขียนบทภาพยนตร์ที่พยายามเขียนบทภาพยนตร์ฮอลลีวู้ดเรื่องใหม่ เพราะฉะนั้นตัวละครก็จะมีการวิพากษ์องค์ประกอบต่างๆทางบทภาพยนตร์ไปด้วยตลอดเวลา

แต่ทำไมดูแล้วมันน่าเบื่อก็ไม่รู้ 555 คือจริงๆแล้วเราว่าองค์ประกอบบางอย่างในหนังเรื่องนี้มันทำให้นึกถึง CONTEMPT (1963, Jean-Luc Godard) และ TRANS-EUROP-EXPRESS (1966, Alain Robbe-Grillet) นะ เพราะหนังฝรั่งเศสสองเรื่องนี้ก็ยั่วล้อองค์ประกอบต่างๆทางภาพยนตร์เหมือนกัน

ถ้าเปรียบเทียบเป็นอาหาร มันก็เหมือนกับว่า PARIS – WHEN IT SIZZLES ใช้วัสดุในการทำอาหารหลายอย่างเหมือนกับหนังเรื่อง CONTEMPT และ TRANS-EUROP-EXPRESS น่ะ แต่ถึงแม้ว่าวัสดุหรือส่วนผสมในการทำอาหารจะคล้ายคลึงกัน แต่ PARIS กลับออกมาเป็นอาหารที่ไม่อร่อยถูกปากเราเท่าไหร่ ในขณะที่ TRANS-EUROP-EXPRESS กลายเป็นอาหารที่อร่อยที่สุดจานหนึ่งที่เราเคยกินมา



HALF PART OF YOU, HALF PART OF ME (2018, Nattapon Jomjun, A+30)

$
0
0
HALF PART OF YOU, HALF PART OF ME (2018, Nattapon Jomjun, A+30)

ดูหนังแล้ว ชอบมากๆเลยครับ ดูแล้วมีความเห็นดังต่อไปนี้

1.นึกว่าเป็น Robert Bresson + Andrei Tarkovsky 555 ชอบมากๆที่หนังเหมือนเล่าเรื่องด้วยวิธีการที่ mimimal + ellipsis มากๆ ซึ่งจุดนี้ทำให้นึกถึง Robert Bresson และมันมีความหลอนๆ spiritualที่ทำให้นึกถึง Tarkovskyด้วย

2.ดูแล้วก็ไม่เข้าใจอะไรมากนัก แต่ถ้าให้จินตนาการเนื้อเรื่องเอาเองจากที่ได้ดูมา พี่ก็เข้าใจว่า สิ่งที่เกิดขึ้นในหนังก็คือ มันเป็นเรื่องของครอบครัวแม่กับลูกสาวลูกชาย ครอบครัวนี้ยังอยู่ด้วยกันในช่วงปี 2010 เพราะพี่เดาว่าเสียงผู้นำการชุมนุมสั่งยุติการชุมนุมน่าจะเป็นเสียงจากปี 2010 หลังจากนั้นพี่สาวก็หนีไป และน่าจะมีสามีที่มาจากครอบครัวที่มีฐานะดีประมาณนึง (สังเกตได้จากบ้านของแม่สามี) และสามีอาจจะทำงานอะไรบางอย่างที่ต้องใช้คอมพิวเตอร์ อย่างเช่นงานประเภท graphic designer แต่ต่อมาสามีก็เสียชีวิตกะทันหัน นางเอกก็เลยไปงานศพ เอาอัฐิไปปล่อย พูดคุยกับแม่สามี เธอตากเสื้อยืดของสามี คิดถึงเขา หลับฝันถึงเขา วิญญาณของเขาเหมือนจะมาอำลาเธอ เธอต้องทำงานเป็นคนล้างจานในโรงอาหารหรือร้านอาหารอะไรสักอย่าง ชีวิตเธอคงยากลำบาก เธอก็เลยทำแท้ง และอาจจะตัดสินใจกลับบ้าน โดยเหตุการณ์ช่วงงานศพสามีนี้เกิดขึ้นในช่วงราวเดือนต.ค. 2016 ส่วนตัวน้องชายนั้นก็คิดถึงพี่สาวเหมือนกัน โดยเฉพาะตอนที่เขาตากเสื้อยืดที่พี่สาวเคยใส่ในวันที่บอกให้น้องชายดูสิวที่ด้านหลังให้

3.ดูแล้วก็ไม่รู้ว่าเข้าใจเนื้อเรื่องถูกต้องหรือเปล่า เพราะหนังเล่าเรื่องแบบ Robert Bresson มากๆ ซึ่งถือว่าดี เพราะแทบไม่เคยเจอหนังไทยเรื่องไหนใช้วิธีการเล่าเรื่องแบบนี้มาก่อน และคิดว่าน้องคงตั้งใจให้หนังออกมาพิศวงแบบนี้อยู่แล้ว

คือถ้าน้องตั้งใจให้คนดู “รู้เรื่อง” มากกว่านี้ มันก็ทำได้นะ แต่คิดว่าคงไม่ใช่จุดประสงค์ของน้อง 555

อย่างตอนแรกที่ดู จะนึกว่านางเอกไปงานศพของพ่อ และพูดคุยกับแม่ของตัวเอง เพราะในหนังเราแทบไม่ได้ยินเสียงพูดคุยของนางเอกกับผู้หญิงวัยกลางคนเลย เราก็เลยไม่รู้ว่าจริงๆแล้วความสัมพันธ์ของสองคนนั้นเป็นอะไรกัน และหนังก็ไม่บอกเลยว่านางเอกตั้งท้อง แต่อยู่ดีๆก็มีฉากนอนถ่างขาเลย เราก็เลยต้องจินตนาการเอาเองว่านางเอกคงท้องแล้วไปทำแท้งเพราะผัวตาย+ชีวิตยากลำบาก 555

ช่วงที่เป็นชีวิตน้องชายกับแม่ก็พิศวงมาก เพราะหนังตัดสลับไปมาระหว่างอดีต,ปัจจุบัน, ความจริง, ความฝัน อย่างฉากที่เหมือนมีนางเอกใส่ชุดดำมายืนที่ระเบียง ก็ไม่รู้ว่าคืออะไร คือเห็นแว่บแรกนึกว่าความจริง แต่พอดูหมดทั้งเรื่องแล้วก็เดาว่ามันอาจจะเป็นความฝันหรืออะไรก็ได้ 555

4. setting ช่วงครึ่งหลังดูแปลกมาก ที่เป็นห้องที่มีแต่กระดาษหนังสือพิมพ์ปูไว้ และมีเก้าอี้สำหรับลูกค้าตัดผม และใช้เป็นสถานที่ตากผ้า เราว่ามันดู surreal ดี

5.ชอบความคล้องจองกันเรื่องการตากเสื้อยืดแล้วคิดถึงคนที่จากไปแล้ว ที่เกิดขึ้นทั้งในครึ่งแรกและครึ่งหลัง

6.รู้สึกว่ามีอยู่สองช็อตที่ดูสวยแบบประดิษฐ์เกินไป ซึ่งได้แก่ช็อตที่เหมือนโรยข้าวตอกหรืออะไรสักอย่างลงบนกระจาดในช่วงต้นเรื่องด้วยจังหวะ slow motion กับช็อตโปรยอัฐิลงแม่น้ำ แต่ไม่ถือว่าเป็นปัญหาใหญ่อะไร

7.ชอบการที่หนังเน้น “บรรยากาศ” อย่างเช่นฉากนางเอกคุยกับแม่ผัว ที่หนังไปเน้นที่ตัวบ้าน โดยที่เราแทบไม่ได้ยินเสียงสนทนาเลย, ฉากแรกของช่วงครึ่งหลัง ที่ถ่ายให้เราเห็นหมู่ตึกอาคารโทรมๆกลุ่มหนึ่ง และฉากหวดนึ่งข้าวเหนียวที่ส่งควันตลบอบอวล (เราว่าฉากนี้ดู Tarkovsky มากที่สุด)

8.การเชื่อมโยงกับประเด็นการเมืองดูน่าสนใจดี เหมือนน้องชายเป็นเสื้อแดง แล้วพี่สาวเป็นอีกฝ่าย 555 แต่ถ้าดูแบบไม่ตีความ การใส่ voiceเหตุการณ์ทางการเมืองเข้ามาในหนัง ก็ช่วยในการ “บอกเวลา” ว่าเหตุการณ์ไหนเกิดก่อนเกิดหลัง เพราะหนังเล่าเรื่องแบบไม่เรียงตามลำดับเวลา

9.สรุปว่าชอบสุดๆ และไม่รู้เหมือนกันว่าควรจะต้องแก้ไขอะไรดี แนะนำว่าควรส่งมางาน Filmvirus Wildtype และส่งงานเทศกาลหนังสั้นด้วย แต่ถ้าจะส่งเทศกาลต่างประเทศอาจจะติดปัญหาเรื่องลิขสิทธิ์หนังจีนเก่าที่ปรากฏอยู่ในหนัง คือจริงๆพี่คิดว่าหนังเรื่องนี้ดีพอที่จะลองส่งเทศกาลต่างประเทศได้ แต่คงต้องเปลี่ยนหนังที่ฉายจากหนังจีนเก่าเป็นหนังไทยเรื่องอะไรก็ได้ที่เราสามารถขอลิขสิทธิ์ได้ 555 แต่ถ้าหากน้องไม่ได้คิดจะส่งเทศกาลหนังต่างประเทศ ก็ไม่ต้องแก้ไขอะไรตรงจุดนี้

SOUTHERN FOLKTALE (2018, Supawit Buaket, A+25)

$
0
0

SOUTHERN FOLKTALE (2018, Supawit Buaket, A+25)

1.รู้สึกชอบเจตนาของหนังหรือความตั้งใจของผู้สร้างหนังมากกว่าตัวผลลัพธ์ที่ออกมา 555 คือถ้าเทียบกับหนังนักศึกษาด้วยกันเองแล้ว เราว่านี่เป็นหนังที่น่าสนใจในแง่ ambitionน่ะ ทั้งการจับประเด็นเรื่องถังแดงที่ดูเหมือนไม่มีหนังนักศึกษาเรื่องไหนเคยทำมาก่อน และการใช้ setting เป็นป่าแบบนี้ คือเราว่าหนังมี ambition ที่ดีมาก แต่ตัวผลลัพธ์ที่ออกมามันดูเหมือนขาดอะไรสักอย่าง เราก็เลยไม่ได้ชอบมันแบบสุดๆ

2.นอกจากชอบ ambition แล้ว เรายังชอบความ cinematic หรือ visual ในบางฉากด้วยนะ อย่างฉากตอนพระเอกขี่มอเตอร์ไซค์เข้าป่าตอนกลางคืน หรือฉากพระจันทร์เต็มดวงช่วงท้ายๆเรื่อง เราว่ามันเป็น visual ที่สวยติดตามากๆ คือพอดูหนังเรื่องนี้และ DIASPORA UTOPIA (2017, Supawit Buaket) แล้ว เราก็รู้สึกว่าชัตเตอร์คิดซีนในหนังออกมาได้ cinematic หรือน่าจดจำในแง่ “ภาพ” ได้ดีกว่านักศึกษาอีกหลายๆคน คือคิดออกมาเป็น “ภาพ” ได้น่าประทับใจในหลายฉากแล้วล่ะ แต่อาจจะยังมีปัญหาเรื่องอื่นๆอยู่บ้าง

3.เราเองก็บอกไม่ถูกเหมือนกันว่าหนังขาดอะไรไป บางทีอาจจะเป็นมิติทางจิตวิญญาณ, ความหลอน, ความ smooth ทางอารมณ์ในการเล่าเรื่อง หรือการเลือก genre หนังให้ชัดเจนกว่านี้แล้วจับอารมณ์ตาม genre นั้นออกมาให้ได้

คือตอนดูเราจะนึกเปรียบเทียบกับหนังอีกเรื่องและละครเวทีอีกเรื่องที่พูดถึง “ถังแดง” นั่นก็คือละครเวทีของคุณคาเงะในปี 2014 และหนังเรื่อง “ปราสาทเสือ” (2016, Patana Chirawong) คือเราว่าละครเวที RED TANKมันนำเสนอเหตุการณ์นี้ในแบบที่ ART มากๆ ส่วนหนังสั้นเรื่อง “ปราสาทเสือ” ก็พูดถึงเหตุการณ์ถังแดงในแบบที่จริงจังและหลอนมาก เพราะฉะนั้นการจะทำหนังที่พูดถึงประเด็นเดียวกัน แล้วออกมาดูไม่ซ้ำซากกับหนังที่ออกมาก่อนหน้านี้ มันก็ทำได้ด้วยการฉีกออกไปอีกสไตล์นึง นั่นก็คือทำเป็นหนัง horror suspense แบบ mainstream ไปเลย ซึ่งก็ดูเหมือน SOUTHERN FOLKTALE จะออกมาเป็นแบบนั้นในช่วงแรก

แต่พอดูๆไปแล้ว เราว่าหนังมันก็ไม่สามารถสร้างอารมณ์สนุกตื่นเต้นแบบ horror suspense แต่อย่างใด ตัวประหลาดในหนังก็ดูเป็น “สัญลักษณ์” จริงๆ มากกว่าจะเป็นสัตว์ประหลาดที่น่ากลัว และเราก็เลยรู้สึกว่าหนังมันไปไม่สุดในสักทางน่ะ คือจะว่ามันอาร์ต มันก็ไม่ได้อาร์ตสุดๆ จะว่ามันสนุกตื่นเต้น มันก็ไม่สนุก จะว่ามันจริงจัง มันก็สู้ปราสาทเสือไม่ได้ หรือจะให้มันจริงจังกว่านี้ มันก็ทำได้ยาก เพราะมันเสี่ยงภัยเกินไป 555 จะว่ามันหลอน เราก็ว่ามันหลอนแค่ “ปานกลาง” เท่านั้น เราอยากให้มันหลอนกว่านี้อีก

เราก็เลยแอบรู้สึกว่า มันเหมือน SOUTHERN FOLKTALE ยังหา genre ที่ลงตัวกับตัวเองไม่ได้น่ะ หรือเหมือนกับว่ามันยังจับไม่ถูกว่ามันจะนำเสนออารมณ์อะไรเป็นแกนหลักกันแน่ หรือเหมือนมันยัง “ขาดๆเกินๆ”ด้านอารมณ์ยังไงไม่รู้ คือมันต้องการนำเสนอ “ประเด็น” ที่ดีมากแล้วล่ะ และผู้กำกับก็มีความสามารถด้าน visual ในระดับนึง แต่เหมือนมันยังแปลงประเด็นนั้นออกมาเป็นเนื้อเรื่องที่ทรงพลังสุดๆไม่ได้

4.แอบผิดหวังที่หนังไม่หลอนมากนัก หรือเป็นเพราะเราดูจอเล็กก็ไม่รู้ ถ้าได้ดูทางจอใหญ่+ระบบเสียงที่ดี หนังอาจจะหลอนมากขึ้น

แต่ก็อาจจะเป็นความตั้งใจของผู้กำกับก็ได้นะ ที่ป่าในหนังเรื่องนี้ดูไม่หลอนมากนัก เพราะตัวร้ายของหนังน่าจะเป็น “คน” มากกว่าภูตผีลี้ลับในป่าน่ะ เพราะฉะนั้นป่าก็เลยไม่จำเป็นต้องหลอนมากนักก็ได้

ที่เราคิดว่าป่าไม่ค่อยหลอน อาจจะเป็นเพราะมันจัดแสงสวยเกินไป, เห็นชัดเกินไป หรือส่วนใหญ่เป็นถ่ายระยะ medium shot ด้วยมั้ง ถ้าหากมันมีถ่ายฉากป่ามืดๆแบบ long shot มากกว่านี้ ป่ามันอาจจะดูหลอนกว่านี้ ถ้าเทียบง่ายๆก็คือป่าแบบใน TWIN PEAKS ของ David Lynch และ SLEEP HAS HER HOUSE (2017, Scott Barley) น่ะ ที่เราคิดว่าหลอนเต็มที่ หรือพวกหนังไทยอย่าง TROPICAL MALADAY, MALILAหรือหนังสั้นบางเรื่องของเอกลักษณ์ มาลีทิพย์วรรณ ก็ดึงศักยภาพความหลอนของป่าออกมาได้เต็มที่เช่นกัน แต่ในส่วนของ SOUTHERN FOLKTALE นั้น เรารู้สึกว่า ป่าในหนังจัดแสงสวยจังเลย จัดหมอกควันสวยจังเลย มันต้องมีทีมงานกองถ่ายอยู่แถวนั้นหลายคนตอนถ่ายฉากนี้แน่ๆ เพราะฉะนั้นอารมณ์หลอนมันก็เลยหายไป 555

5.ชอบการใช้ภาษาใต้ในหนังแล้วต้องขึ้น subtitle ภาษาไทยเอาไว้ด้วยมากๆ เพราะเราฟังภาษาใต้ไม่ออก แต่เราก็ต้องการให้มีการอนุรักษ์ภาษาท้องถิ่นต่างๆหรือการนำเสนอภาษาท้องถิ่นต่างๆในหนัง

6.มีจุดนึงที่น่าสนใจดี ไม่รู้ว่าเป็นความผิดพลาดหรือความตั้งใจ 555 เพราะมันมีฉากที่พระเอกใส่เสื้อยืดสีเหลือง+เสื้อเชิ้ตสีแดงออกไปสืบความจริงในป่า แต่พอเขากลับเข้าบ้านมา เขาใส่เสื้อยืดสีแดง เราก็เลยไม่รู้ว่ามันเป็นเหตุการณ์คนละวันกัน, พระเอกเปลี่ยนเสื้อระหว่างทาง, หรือเกิดความไม่ continue หรือเป็นความจงใจใช้สัญลักษณ์ทางเสื้อยืด เพราะในฉากนั้นคุณลุงก็ใส่เสื้อยืดคำว่า THAILAND ด้วย คือมันเหมือนกับว่าเสื้อยืดที่คุณลุงใส่นี่เป็น symbol แน่ๆ แต่การที่สีเสื้อยืดตัวละครเปลี่ยนไปอย่างฉับพลันนี่เราไม่รู้ว่าใช่ symbol หรือเปล่า 555

7.สรุปว่าชอบ ประเด็น ที่หนังต้องการนำเสนอมากๆ แต่เหมือนหนังยังขาดๆเกินๆในทางอารมณ์ยังไงไม่รู้


CRYING

$
0
0

แอบด่าหนังเรื่องนึงไว้ในใจ ปรากฏว่าเข้าตัวเองค่ะ 555

เมื่อวานนี้ไปดูหนังเรื่อง 102 NOT OUT (2018, Umesh Shukla, India, A+20) ในหนังมันจะมีฉากที่ตัวละครชายวัย 70 กว่าปีชื่อ Baabu ไปที่โบสถ์เพื่อฟังเสียงระฆังโบสถ์ แล้วก็หวนนึกถึงความสุขเมื่อ 30 กว่าปีก่อนตอนที่เขากับลูกชายชอบมาที่โบสถ์แห่งนี้ เพราะลูกชายชอบฟังเสียงระฆัง แล้ว Baabu ก็ร้องห่มร้องไห้อย่างรุนแรง เพราะมันเป็นช่วงเวลาแห่งความสุขที่หวนคืนมาไม่ได้แล้ว เพราะเขากับลูกชายห่างเหินกันไป 30 กว่าปีแล้ว แล้วหลังจากนั้น Baabu ก็ทำกิจกรรมอื่นๆอีกที่ทำให้หวนนึกถึงความสุขต่างๆในอดีตที่ไม่มีวันหวนคืนมาได้อีกเหมือนกัน

ตอนดู 102 NOT OUT เราจะรู้สึกว่าฉากพวกนี้มันฟูมฟายและทื่อมะลื่อเกินไปน่ะ เหมือนหนังมัน execution ไม่ดี และหลายอย่างดูเป็นความพยายามสร้างความซาบซึ้งแบบทื่อๆ ตรงไปตรงมา และฟูมฟายมากพอสมควร (แต่ก็มีส่วนอื่นๆในหนังที่ดีมากๆนะ)

หลังจากที่เราแอบปรามาสหนังเรื่องนี้และการกระทำของตัวละคร Baabu ไว้ในใจ ปรากฏว่าวันนี้กูโดนเข้ากับตัวเองเลยค่ะ 555

ไม่รู้วันนี้เกิดอะไร หรือเกิดอาการจิตแตก หรือเป็นเพราะ 102 NOT OUTส่งผลกระทบต่อจิตใต้สำนึกโดยเราไม่รู้ตัว คือพอสายๆวันนี้ ฝนตกหนัก พอเราทำงานบ้านเสร็จ เราก็เลยตัดสินใจนอนต่อ ขณะจะนอนต่อ เราก็หวนคิดถึงอดีตเมื่อ 20 กว่าปีก่อนตอนที่พึ่งเข้าพักในอพาร์ทเมนท์นี้ในปี 1995 นึกถึงความสุขในตอนนั้น ตอนที่เพื่อนๆมัธยมกับเพื่อนๆมหาลัยแวะมาที่อพาร์ทเมนท์นี้เป็นประจำ แล้วก็อดคิดไม่ได้ว่า ถ้าหากเราหลับไป แล้วตื่นขึ้นมาเป็นวันฝนตกวันหนึ่งในปี 1995 เราจะเปลี่ยนแปลงชีวิตตัวเองใหม่อย่างไรบ้าง

พอหลับไปแล้วตื่นนอนขึ้นมา เราก็หยิบเทปเพลงรวมฮิตในทศวรรษ 1990 มาฟัง ยิ่งฟังก็ยิ่งนึกถึงความสุขในทศวรรษ 1990 นึกถึงความสุขสุดๆสมัยเรียนมหาลัย ความสุขสุดๆช่วงที่เพิ่งเรียนจบใหม่ๆ แล้วไปเที่ยว DJ STATION ประมาณ 15 คืนต่อเดือน พอฟังไปได้ 7-8 เพลง จนถึงเพลง THE DAY YOU WENT AWAY ของ Wendy Matthews เราก็รู้สึกอยากร้องไห้อย่างรุนแรง แล้วก็ปล่อยให้ตัวเองร้องไห้อย่างเต็มที่ไปเลยราว 10-15 นาที

เหมือนเราแทบไม่เคยทำแบบนี้มาก่อนนะ มันคงเป็นสัญญาณอย่างหนึ่งของคนวัยชราล่ะมั้ง แบบที่ตัวละครวัย 70 กว่าปีใน 102 NOT OUT ทำ ที่เราร้องห่มร้องไห้อย่างรุนแรง ไม่ใช่เพราะเนื้อเพลงของเพลง THE DAY YOU WENT AWAY นะ แต่ไม่แน่ใจว่าเป็นเพราะอะไรเหมือนกัน มันเป็นความเศร้าที่หมักหมมบ่มทับอยู่ในใจเราจากไหนก็ไม่รู้ คือเราเศร้ามากๆที่ “ความสุขต่างๆอันมากมายล้นเหลือตอนที่เราอายุ 18-25 ปี” มันไม่มีวันหวนคืนมาอีกแล้ว แต่เราก็นึกไม่ถึงว่ามันจะทำให้เราร้องห่มร้องไห้ได้อย่างรุนแรงขนาดนี้ ประหลาดดีเหมือนกัน

เราก็ปล่อยให้ตัวเองร้องไห้ไปเรื่อยๆอย่างเต็มที่นะ เพราะวันนี้ไม่ต้องรีบไปไหน ระบายมันออกมาอย่างเต็มที่เลย แต่ก็งงๆว่ากูจะเศร้าไปทำไม ร้องไห้ไป เราก็ย้อนอดีตไปเมื่อ 20 กว่าปีก่อนไม่ได้อยู่ดี เราก็คงทำได้แค่หวนระลึกถึงความสุขในตอนนั้นเพื่อปลอบประโลมจิตใจไปเรื่อยๆเท่านั้นเอง

สรุปว่า ในตัวเราเอง ก็มีอะไรบางอย่างลึกๆที่เราไม่เข้าใจตัวเองเหมือนกัน อย่างความเศร้ามากมายที่ทำให้เราร้องห่มร้องไห้อย่างรุนแรงในวันนี้ เราก็ไม่แน่ใจเหมือนกันว่ามันมาจากไหนมากมายนัก มันเหมือนกับเราทำงานไปวันๆ พยายามทำทุกอย่างอย่างมีสติ มีเหตุผล ควบคุมอารมณ์ความคิดความรู้สึกตัวเองไปเรื่อยๆ แต่มันเหมือนในใจเรามันแอบกลั่นสารความเศร้าบางอย่างเอาไว้ แล้วค่อยๆหยดสารความเศร้านั้นทีละหยด ทีละหยดลงบ่อกักเก็บในจิตใต้สำนึกของเราไปเรื่อยๆ แล้วพอวันนึง พอเราได้ดูหนังเรื่อง 102 NOT OUT, พอฝนตกหนัก, พอเรามีเวลาว่าง, พอเราได้ฟังเพลงจากทศวรรษ 1990 บ่อกักเก็บความเศร้าในใจเราก็แตกทะลักออกมา น้ำตามากมายมันหลั่งไหลออกมา โดยที่เราก็ไม่รู้ว่ามันมาจากไหนกันแน่ หรือเราไปกักเก็บมันไว้จากเหตุการณ์อะไรบ้างในชีวิต

คิดถึงหนังเรื่อง BUNNY (2000, Mia Trachinger) มากๆ มันเป็นหนึ่งในหนังที่เราชอบมากที่สุดในชีวิต มันเป็นหนังที่เหมือนจะพูดถึงอะไรบางอย่างที่คล้ายๆกับที่เราเขียนมาข้างต้น พูดถึงความเศร้ามากมายในใจมนุษย์ที่บางทีก็ไม่รู้ว่ามันมาจากไหนกันแน่

สรุป กูเป็นบ้า จบ

2012 3D (2013, Takashi Makino, Japan, A+30)

$
0
0

2012 3D(2013, Takashi Makino, Japan, A+30)

One of my most favorite films of all time. ดูแล้วก็ตายห่าไปเลย อิจฉาคนที่เคยดูหนังเรื่องนี้ตอนมันมาฉายที่ BACC ในปี 2014 มากๆ เพราะขนาดเราดูผ่านจอคอมพิวเตอร์เล็กๆ เรายังตายห่าคาจอคอมไปเลย ถ้าใครบอกว่าหนังเรื่องนี้สร้างขึ้นโดยใช้ “พลังจิต” เราก็เชื่อ หรือถ้าหากใครบอกว่าดูหนังเรื่องนี้แล้วจะติดต่อกับโลกวิญญาณได้ เราก็เชื่อ หรือถ้าใครบอกว่าฟิล์มที่ใช้ในการถ่ายหนังเรื่องนี้ เป็นฟิล์มที่ถูกพรมด้วยน้ำมนต์จากวัดลึกลับ, ฟิล์มที่ถูกขูดขีดด้วยทรายใต้โลงของคนที่ตายโหง, ฟิล์มที่ถูกขูดขีดด้วยตะปูโลงศพของศพไร้ญาติ, ฟิล์มที่ถูกเอาไปตากแสงจันทร์ตอนตีสามในคืนวันโกน, ฟิล์มที่ผ่านการบริกรรมคาถาจากตำหนักเจ้าแม่มาณวิกา, ฟิล์มที่ตั้งไว้ต่อหน้าคนที่ท่องพาหุงย้อนหลัง 3 รอบ, ฟิล์มที่ให้คนเอาวนซ้ายรอบโบสถ์สามรอบ, ฟิล์มที่ถูกเอาไปวางไว้ที่ทางสามแพร่ง แล้วเคาะเรียกวิญญาณให้มาเข้าฟิล์ม, ฟิล์มที่ถูกเสกควายธนูเข้าฟิล์ม เราก็เชื่อ

เป็นประสบการณ์ทางจิตที่รุนแรงที่สุดครั้งนึงในชีวิตในการได้ดูหนังเรื่องนี้ รู้สึกว่ามีแค่ David Lynch กับ Philippe Grandrieux เท่านั้นที่เคยพาจิตเราไปถึงขั้นนี้ได้

DAVID LYNCH

$
0
0

หนัง/ละครของ David Lynch ที่เคยดู เรียงตามลำดับความชอบ

1.MULHOLLAND DR. (2001)
2.TWIN PEAKS (1990-1991, TV Series)
3.LOST HIGHWAY (1997)
4.ERASERHEAD (1977)
5.WILD AT HEART (1990)
6.THE GRANDMOTHER (1970, 34min)                     
7.DUNE (1984)
8.BLUE VELVET (1986)
9.THE ELEPHANT MAN (1980)
10.TWIN PEAKS: FIRE WALK WITH ME (1992)
11.HOTEL ROOM (1993)


BROTHER OF THE YEAR (2018, Vithaya Thongyuyong, A+25)

$
0
0

BROTHER OF THE YEAR (2018, Vithaya Thongyuyong, A+25)
น้อง พี่ ที่รัก

1.หญิงสาวคนหนึ่งทำงานอย่างเหนื่อยยาก เธอกลับมาที่บ้าน และก็ต้องมาทำงานรับใช้ผู้ชายที่บ้าน ซึ่งนิสัยไม่ดี และปฏิบัติต่อเธออย่างไม่ดี เธอจะทำอย่างไร

1.1 ถ้าหากเธอทำอย่างนางเอกหนังอิหร่านเรื่อง REVOLT (2018, Koorosh Asgari) นางเอกคนนี้ก็จะมานั่งอยู่ในใจเรา และหนังเรื่องนี้ก็จะติดอันดับประจำปีไปเลย เพราะเราจะอินกับนางเอกประเภทที่ “กูไม่ทน” “ถ้ามาเสือกกับกู มึงตาย” “กูไม่มีความรัก กูไม่มีความปรารถนาดี กูมีแต่ความเกลียดชัง”

1.2 ถ้าหากเธอทำอย่างนางเอกหนังเรื่อง BROTHER OF THE YEAR เราก็เข้าใจเธอได้นะ แต่เราก็จะไม่อินกับเธอมากนัก

2.จริงๆแล้วไม่ค่อยมีปัญหากับหนังเรื่องนี้ 555 ถือเป็นหนังที่เรารับได้มากเกินคาด แต่ส่วนที่ชอบที่สุดในหนังเรื่องนี้ก็คือช่วงที่เป็นการทำงานในออฟฟิศ

3.แต่ก็ไม่ได้ชอบหนังอย่างสุดๆนะ ซึ่งอาจจะไม่ใช่ความผิดของหนัง แต่เราว่ามันเป็นเพราะเราเป็นคนที่มี “ความเกลียดชังอัดแน่นอยู่ในตัวอย่างรุนแรงมาก” น่ะ และเราว่าหนังเรื่องนี้มันไม่ใช่หนังประเภทที่ช่วยให้เราได้ระบายความเกลียดชังในตัวเองออกมา และมันคือความแตกต่างระหว่างหนังอย่าง REVOLT กับหนังอย่าง BROTHER OF THE YEAR คือนางเอกของ REVOLT มันช่วย “ระบายความเกลียดชัง” ในตัวเราออกมาน่ะ ผ่านทางพฤติกรรมประเภท “กูไม่ทน” หรือ “กูไม่ยอมมึง” ในขณะที่หนังอย่าง BROTHER OF THE YEAR มันมีนางเอกที่ “ดี” เกินไปหน่อย หรือ “มีความรักในสมาชิกครอบครัว” มากเกินไปหน่อยจนเรา identify ด้วยไม่ได้อย่างเต็มที่

4.แต่เราก็ไม่ได้เกลียดนางเอก BROTHER OF THE YEAR นะ เพราะอย่างน้อยเธอก็ไม่ได้โง่แบบพระเอกละครทีวีฮ่องกงเรื่อง “คู่แค้นสายโลหิต” 555 ที่ยอม brother เลวๆของตัวเองมากจนเกินไป คือถึงแม้นางเอก BROTHER OF THE YEAR จะรักพี่ชายตัวเองมากเกินไปหน่อย แต่เธอก็ตัดสินใจทำในสิ่งที่เราเห็นด้วยหลายๆอย่าง และไม่ได้อ่อนข้อให้แก่พี่ชายมากเกินไปแบบพระเอก “คู่แค้นสายโลหิต” 555



FILMS SHOWN AT THAMMASAT

$
0
0

โปรแกรมฉลอง ดวงกมลฟิล์มเฮ้าส์ (ฟิล์มไวรัส) ครบ 22 ปี (ครึ่ง) ครับ
DK Filmhouse (Filmvirus) 22nd 1/2 Anniversary
Admission Free
ขอบคุณหลายท่านที่มาให้เกียรติร่วมสนุกช่วยจัดโปรแกรมนี้ครับ
โอกาสดีครับที่ท่านจะได้ชมหนังหายากหลายเรื่อง โดยเฉพาะหนังของ Bill Mousoulis และ Dean Kavanagh,ที่ได้รับการยินยอมจากผกก. โดยตรงผ่านมิตรภาพของ จิตร โพธิฺแก้ว
วันที่ 3 กับ 10 มิถุนายนนี้ ฟิล์มไวรัสจัดงานใหญ่อีกงานที่หอภาพยนตร์และ Reading Room ดังนั้นใครสะดวกชมที่ไหน ไปที่นั่นครับ
* * * อ้อมีโปรแกรมหนังเซอร์ไพรส์จากหนังสือ Queer Cinema for All ของ กัลปพฤกษ์ แถมด้วยครับ
ดวงกมลฟิล์มเฮ้าส์ (ฟิล์มไวรัส) และ สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์ เชิญชม
Filmvirus Curators & Company: A Reunion
โปรแกรมพิเศษรวมรุ่นคนฉายหนัง 22 ปีฟิล์มไวรัส
ทุกวันอาทิตย์ระหว่างวันที่ 3 มิถุนายน – 15 กรกฎาคม 2561 ตั้งแต่เวลา 13.00 น. เป็นต้นไป
ณ ห้องเรวัต พุทธินันท์ ชั้นใต้ดิน U2 หอสมุด ปรีดี พนมยงค์
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์ โทรศัพท์ 026133529 หรือ 026133530
ชมฟรี!!! (โปรดแจ้งเจ้าหน้าที่ห้องสมุดว่ามาชมภาพยนตร์ และกรุณาแต่งกายสุภาพ)
ในโอกาสพิเศษที่ดวงกมลฟิล์มเฮ้าส์หรือฟิล์มไวรัส ฉายหนังมายาวนานถึง 22 ปี มี curator คัดหาหนังหลากหลายสารพัดสารพันมาบริการคอหนังมาหลายรุ่น ดวงกมลฟิล์มเฮ้าส์ (ฟิล์มไวรัส) จึงขอนำเสนอโปรแกรมพิเศษรวมรุ่นคนฉายหนังและผองเพื่อนในรอบ 22 ปี คัดสรรโปรแกรมหนังเด็ดในแนวทางของตัวเองที่แม้จะได้ชื่อว่าเป็น ฟิล์มไวรัสหรือผองเพื่อนร่วมอุดมการณ์เดียวกัน แต่ก็มีรสนิยมเฉพาะตัวในการนำเสนอที่ต่างกันได้อย่างไม่น่าเชื่อ มาร่วมทบทวน 22 ปี ฟิล์มไวรัสด้วยโปรแกรมรวมรุ่นคนฉายหนังโปรแกรมนี้กัน!
วันอาทิตย์ที่ 3 มิถุนายน 2561 โดย สนธยา ทรัพย์เย็น
หนังควบชุดที่ 1 - หายนะเครื่องบินตก
13.00 น. Five Came Back (1939) อเมริกา 75 นาที / สัดส่วนภาพ 1.37 : 1
ผู้กำกับ John Farrow
บทภาพยนตร์ Jerry Cady, Dalton Trumbo และ Nathanael West
15.00 น. Back from Eternity (1956) อเมริกา 100 นาที / สัดส่วนภาพ 1.85 : 1
ผู้กำกับ John Farrow
บทภาพยนตร์ Jonathan Latimer
วันอาทิตย์ที่ 10 มิถุนายน 2561 โดย สนธยา ทรัพย์เย็น
หนังควบชุดที่ 2 – ยิ่งสูงยิ่งเหงา ค้นฟ้าท้าจอมยุทธ
13.00 น. The Gunfighter (1950) อเมริกา 85 นาที / สัดส่วนภาพ 1.37 : 1
ผู้กำกับ Henry King
เรื่องและบท William Bowers, William Sellers, André De Toth, Roger Corman , Nunnally Johnson
15.00 น. Death Duel (ศึกล้างเจ้ายุทธจักร) ฮ่องกง / 1977 / 90 นาที / สัดส่วนภาพ 2.35 : 1
ผู้กำกับ ฉู่หยวน
ดัดแปลงจาก ซาเสี่ยวเอี้ยนิยายของโกวเล้ง
วันอาทิตย์ที่ 24 มิถุนายน 2561 โดย ‘filmsick’
13.00 น. สีบนถนน(วีระพงษ์ วิมุกตะลพ,180mins , 2009)
16.30 น. นกดำ (ธีรนิติ์ เสียงเสนาะ, 2015, 69 นาที)
วันอาทิตย์ที่ 1 กรกฎาคม 2561 โดย จิตร โพธิ์แก้ว
โปรแกรม ORDINARY LIVES, ORDINARY PEOPLE
13.00
น. BLUE NOTES (2006, Bill Mousoulis, Australia, 93min)
15.00
น. MARITIME (2012, Dean Kavanagh, Ireland, 12min) +บรรยากาศยามเช้าที่บ้านตอน 6 โมง (2011, Wachara Kanha, 16min) +FAITH (1987, Bill Mousoulis, Australia, 27min) +SEE YOU TOMORROW (2015, Nattawoot Nimitchaikosol, 53min)
เลือกภาพยนตร์เหล่านี้มาฉายควบกัน เพราะภาพยนตร์ 5 เรื่องนี้ล้วนนำเสนอชีวิตธรรมดาของคนธรรมดาออกมาได้อย่างงดงามและซาบซึ้งมากๆ โดย MARITIME และ ATMOSPHERE AT THE HOUSE AT 6AM นำเสนอภาพกิจวัตรประจำวันของคนธรรมดา ในขณะที่ BLUE NOTES, FAITH และ SEE YOU TOMORROW นำเสนอปัญหาชีวิตที่คนธรรมดาต้องเผชิญ ทั้งปัญหาเรื่องปากท้อง, ความสัมพันธ์ และการรับมือกับสังคมการเมืองที่เปลี่ยนแปลงไป
วันอาทิตย์ที่ 8 กรกฎาคม 2561 โดย ‘Pathompong Manakitsomboon’
13.00
น. Garage Olimpo (1999) กำกับโดย Marco Bechis
15.00
น. Paraguayan Hammock (2006) กำกับโดย Paz Encina
วันอาทิตย์ที่ 15 กรกฎาคม 2561 โดย ‘horrorclub’
Aussie Chillers
13.00 น. Cherry Falls (2000) Director: Geoffrey Wright
15.00
น. Next of Kin (1982) Director: Tony Williams
วันอาทิตย์ที่ 22 กรกฎาคม 2561 โดย กัลปพฤกษ์
Grand Opening
หนังแอบ - โปรแกรมควบหนังจิ้นวาย Before It Was Cool
13.00 น. SURPRISE FILM 1 (เฉลยปริศนาหนังลึกลับจากหนังสือ Queer Cinema for All)
15.00
น. SURPRISE FILM 2 (เฉลยปริศนาหนังลึกลับจากหนังสือ Queer Cinema for All)
เรื่องย่อภาพยนตร์
Five Came Back (1939) + Back from Eternity (1956)
บนเครื่องบินโดยสารที่กำลังมุ่งหน้าไปอเมริกาใต้ หลายชีวิตจากต่างเมืองมารวมตัวกันบนเครื่องเพราะชะตาลิขิต คนเหล่านี้ที่ต่างมีปัญหาส่วนตัวกันมาทั้งนั้นประกอบด้วย สองนักบินกับผู้ช่วยโฮสเตส, หญิงสังคมประวัติด่างพร้อย, หนุ่มสาวที่ตั้งใจจะไปจดทะเบียนสมรสนอกประเทศ, สองตายายวัยใกล้ฝั่ง, เด็กชายลูกของเจ้าพ่อมาเฟียที่ขึ้นเครื่องมากับพี่เลี้ยง และนักโทษคดีอุกฉกรรจ์ที่มีนักล่าเงินรางวัลประกบตัวมาด้วย ซึ่งทั้งหมดนี้ถูกพายุร้ายบันดาลให้เครื่องบินตกในป่าเร้นลับอันตราย พวกเขาจะสามารถกลับไปสู่โลกศิวิไลซ์อีกครั้งได้หรือไม่ หรือจบชีวิตกันทั้งหมดที่นี่คล้ายที่คึกฤทธิ์เขียนไว้ใน หลายชีวิตโปรดอ่านทวนชื่อเรื่องซ้ำอีกครั้ง
และติดตามชมหนังเกรด B ทั้งสองเรื่องนี้ คือ Five Came Back กับ Back from Eternity ซึ่งเป็นต้นแบบแรกของหนังแนวหายนะ (Disaster Movies) เกรด A ที่นิยมสร้างกันมากในเวลาต่อมา เช่น ตึกนรก” (The Towering Inferno) ฯลฯ ดัดแปลงจากเนื้อเรื่องเดียวกันของ Richard Carroll เพียงต่างกันบ้างในรายละเอียดบางส่วน ผลงานสร้างของผู้กำกับคนเดียวกัน จอห์น ฟาร์โรว์ (พ่อของนางเอก มีอา ฟาร์โรว์ ที่ต่อมาอยู่กินกับ แฟรงค์ ซินาตรา และวู้ดดี้ อัลเลน) อำนวยการสร้างโดย ฮาวเวิร์ด ฮิวส์ มหาเศรษฐีเจ้าของสตูดิโอ RKO (ลีโอนาร์โด ดีคาปริโอ แสดงเป็นตัวฮิวส์ในหนังของมาร์ติน สกอร์เซซี่ เรื่อง The Aviator)
The Gunfighter (1950)
จอห์นนี่ ริงโก้ (เกรกอรี่ เป็ค) การขึ้นไปสู่จุดยอดของตำนานยอดปืนนั้น ยิ่งสูงสุดก็ยิ่งหนาวลึก รอวันลงจากสังเวียนเพียงช้าหรือเร็วเท่านั้น เมื่อเด็กรุ่นหลังที่ไฟแรงจะตามล่า ขอท้าประลองมือมิหยุดหย่อน ดังนั้นการเป็นคาวบอยที่เริ่มไม่หนุ่มอย่างที่เคย แต่ทำเรื่องอย่างที่ไม่ควร คือหวนคืนสู่ถิ่นเดิม หวังรื้อฟื้นรักเก่า ย่อมนำพาไปสู่จุดจบที่ไม่อาจหลีกเลี่ยงได้ นั่นคือข้าจะอยู่ หรือเอ็งจะไป เดิมทีบทหนังเรื่องนี้เขียนขึ้นมาเพื่อให้ จอห์น เวย์น แสดง แต่ต่อมาผิดใจกัน บทจึงผ่านมือพระเอกคนอื่น หนึ่งในนั้นคือ คล้าค เกเบิ้ล แต่สุดท้ายก็ไปตกที่ เกรกอรี่ เป็ค (Roman Holiday, To Kill a Mockingbird) ซึ่งเคยบอกว่าในบรรดาหนังทั้งหลายที่เขาเล่น หนังเรื่องนี้เป็นหนังเรื่องโปรดเท่านั้นยังไม่พอ Bob Dylan ยังแต่งเพลงกับ Sam Shepard ชื่อว่า "Brownsville Girl"เพราะความชอบในบทของเกรกอรี่ เป็ค หลายปีต่อมา จอห์น เวย์น ยังแค้นใจไม่หาย แล้วยังไปแสดงบทคล้ายๆ กันใน The Shootist (1976) นี่คือพล็อตต้นแบบของนิยายจีนกำลังภายในของจอมยุทธไซมึ้งใจเสาะ กะเทาะหน้ามีดสั้นหัวใจรัญจวนทั้งหลายแหล่ ตลอดจนถึงหนังอย่าง John Wick หากสนใจโปรดติดตามชมครับ
Death Duel (1977)
เอ๋อตงเซิน (Derek Yee) นำแสดงเป็นเจี่ยเฮียวฮง คุณชายสามแห่งหมู่บ้านกระบี่เทพเจ้า เขารู้สึกเหนื่อยหน่ายกับเรื่องราวในยุทธจักร จึงปลีกตัวจากโลกไปเป็น อากิก ภารโรงสามัญธรรมดา แต่ก็หนีไม่พ้นวังวนแห่งริษยาอาฆาตและการตามรอยของยอดฝีมือกระบี่13 กระบวนท่า - อี้จับซา เรื่องนี้ยังได้ หวีอันอัน, ตี้หลุง เดวิดเจียง, หลอลี่, เยียะหัว มาร่วมแสดงในบทรับเชิญด้วย หลายปีต่อมาเอ๋อตงเซิน นำเรื่องนี้มากำกับใหม่ในชื่อ ดาบปราบเทวดาหรือ Sword Master (2016)
BLUE NOTES (2006, Bill Mousoulis, Australia, in English, no subtitles, 93min)
BLUE NOTES ประกอบด้วยเรื่องราวย่อยๆ 5 เรื่องของผู้คนที่อยู่ในความเศร้า ซึ่งประกอบด้วยเรื่องของชายที่มีอาการซึมเศร้า, ลูกชายของเขาที่ใช้ชีวิตแบบไม่เป็นโล้เป็นพาย, หญิงสาวที่ถูกแฟนกดขี่ทำร้าย, ชายติดเฮโรอีนที่พยายามจะเริ่มต้นประกอบอาชีพด้านดนตรี และชายที่ใช้ชีวิตอย่างโดดเดี่ยวและพยายามจะหาทางสร้างสัมพันธ์กับคนอื่นๆในสังคม
ภาพยนตร์ 4 เรื่อง ความยาวรวมกัน 109 นาที
MARITIME (2012, Dean Kavanagh, Ireland, silent, 12min)
ผู้ชายคนหนึ่งเดินไปเดินมาในบ้าน, หยิบสิ่งของขึ้นมาดู, เล่นเปียโน, มองออกนอกหน้าต่าง
ATMOSPHERE IN THE HOUSE AT 6AM (2011, Wachara Kanha, in Thai, no subtitles, 17min)
บรรยากาศยามเช้าที่บ้านตอน 6 โมง หนังเหมือนเป็นการจำลองความรู้สึกสะลึมสะลือ ความรู้สึกงัวเงียขณะที่ต้องแหกขี้ตาตื่นนอนตอนเช้า
FAITH (1987, Bill Mousoulis, Australia, in English, no subtitles, 27min)
กิจวัตรประจำวันของสามีภรรยาชนชั้นแรงงานคู่หนึ่ง ตื่นนอน, ทำงาน, เดินทางกลับจากที่ทำงาน, ซักผ้า, เลี้ยงลูก, ทำอาหาร, กินอาหาร, คุยกับเพื่อน และดิ้นรนอย่างเงียบเชียบเพื่อที่จะมีชีวิตอยู่ต่อไป
SEE YOU TOMORROW (พบกันใหม่โอกาสหน้า) (2015, Nattwoot Nimitchaikosol, in Thai, English subtitles, 53min)
ความเปลี่ยนแปลงเข้ามาถึง เมื่อช้างที่จัดรายการวิทยุอยู่ดีๆ ก็จะได้จัดทอล์คโชว์ซึ่งเป็นความใฝ่ฝันตั้งแต่วัยเรียน แต่ความหวั่นวิตกเกินเลยของเขาทำให้เกิดปัญหาระหว่างการจัดทอล์คโชว์
สีบนถนน(วีระพงษ์ วิมุกตะลพ,180mins , 2009)
ฉากภาพที่ปรากฏคือภาพจากตัวรถไฟ ทดสายตามองลงไปยังชานชาลา สถานีฉะเชิงเทราในยามเย็น ส่องต้องเงาแดดสีทองแห่งสนธยา กล้องค่อยๆ เคลื่อนห่างตัวสถานีพร้อมกับตัวรถไฟซึ่งเคลื่อนไป มุ่งหน้าเข้าสู่กรุงเทพ ตลอดการเดินทาง คล้ายกล้องเหม่อมองไปนอกตัวรถ จ้องมองภาพชีวิตจากสองข้างทาง ภาพของชุมชน ภาพของท้องทุ่ง เสาไฟฟ้าแรงสูง อาคารร้าง ยิ่งเข้าใกล้กรุงเทพ เมืองยิ่งเรืองรอง ตึกรามบ้านช่องตามไฟสว่างไสว รถไฟเคลื่อนเชื่องช้าไปในพราวแสงไฟนั้น สิ้นปลายทางที่สถานีหัวลำโพง จากนั้นกล้องกวาดเกร่ไปในกรุงเทพ จ้องมองแสงแดดเช้าที่ค่อยสาดลงบนถนน จ้องมองผู้คนจากแฟลตสูงแออัด เด็กๆ ของเมืองหลวงนั่งเบียดกันห้อยขาตรงริมระเบียง เด็กในกองซากปูนปรักหักพังใต้ทางด่วน คนขายผลไม้เข็นรถของตนไปตามถนน กล้องกวาดเข้าไปในหมู่อาคารรกร้างที่สร้างไม่เสร็จ ถนนอันคลาคล่ำไปด้วยฝูงชนจากที่นั่นที่นี่ สนามหลวงในยามค่ำคืน จ้องมองคนจรหมอนหมิ่นปูผ้าพลาสติกลงพักนอนกลางงาน จ้องมองไปตามความมืด
นกดำ (ธีรนิติ์ เสียงเสนาะ, 2015, 69 นาที)
หญิงสาวคนหนึ่งในทัศนียภาพชานเมืองรกร้างว่างเปล่า ภาพยนตร์ที่ผุดบังเกิดจากกล้องมือถือของเธอ เครื่องเพศของเธอ ความโดดเดี่ยวของเธอ แทบเบลตของเธอ ภาพสีโศกที่บรรจุอยู่ในนั้นของเธอ บนโลกที่เหมือนถูกทิ้งร้างซึ่งเธออาศัยอยู่เพียงลำพัง
Garage Olimpo
Marco Bechis, Italy/Argentina, 1999, 98min
ในกลางยุค 70 อาร์เจนติน่าเมื่อครั้งระบอบเผด็จการยังฝังรากความโหดร้ายอยู่ทั่วหัวระแหง การจับกุมผู้ต่อต้านรัฐบาลพบเห็นเป็นปกติบนท้องถนน มาเรียเป็นครูสาวผู้เร้นโฉมนักกิจกรรมการเมืองที่ต่อต้านรัฐบาลทหารไว้เบื้องหลัง เธอพบรักกับเฟลิกซ์หนุ่มขี้อายที่เช่าห้องในบ้านแม่ของเธออยู่ ในเช้าวันที่อากาศแจ่มใส เจ้าหน้าที่รัฐบาลบุกจับตัวมาเรียไปยังโกดังร้างซึ่งเป็นที่คุมขังนักโทษการเมือง ที่นั่นเธอพบกับการทรมานอันแสนโหดร้าย และมันก็ทวีความรวดร้าวขึ้นไปอีกเมื่อเธอพบว่าหนึ่งในผู้คุมนั่นคือ เฟลิกซ์หนุ่มคนรักของเธอเอง ขณะที่อีกด้านหนึ่งผู้เป็นแม่ก็กำลังออกตามหาลูกสาวด้วยหัวใจแตกสลาย
Paraguayan Hammock
Paz Encina, Paraguay, 2006, 78min
หนึ่งในห้าภาพยนตร์โครงการ New Crowned Hope ที่มีขึ้นเพื่อเฉลิมฉลองวาระ 250 ปีประพันธกรโมซาร์ต ที่นักวิจารณ์หลายคนลงความเห็นว่าเป็นชิ้นที่เยี่ยมที่สุด ผลงานเรื่องแรกของผู้กำกับหญิงชาวปารากวัยปาซ เอนซิน่า ย้อนกลับไปในปี 1935 ในพื้นที่รกเรื้อของดินแดนสงบสงัด มันเป็นช่วงเวลาที่สงครามกำลังก่อตัวอยู่ ณ พื้นที่ห่างไกล บนเปลญวนที่สายลมอบอุ่นกำลังโบกโบย สองคู่ชีวิตวัยชรากำลังสนทนากันถึงดินฟ้าอากาศ บ้างชี้ชวนกันดูสรรพสิ่งรอบกาย โน่นแหนะนกเขากรู โน่นแหนะเสียงหมาเห่า โน่นแหนะกิ่งไม่ไหว พลางรำพึงรำพรรณถึงการจากไปสงครามของลูกชาย และเฝ้าถวิลถึงวันเวลาที่เขาจะกลับมา
Cherry Falls (2000)
Director: Geoffrey Wright
เกิดเหตุสะเทือนขวัญในเมืองเล็ก ๆ แห่งหนึ่งที่ชื่อ Cherry Falls เมื่อมีฆาตกรโรคจิตออกไล่สังหารเด็กวัยรุ่น โดยเป้าหมายของมันมีเพียงแค่เด็กที่ยังไม่เสียความบริสุทธิ์ บรรดาหนุ่มสาวจึงตัดสินใจจัดงานปาร์ตี้เปิดซิงขึ้นมาเพื่อปกป้องตัวเองให้รอดพ้นจากความตาย
Next of Kin (1982)
Director: Tony Williams
ภายหลังจากการตายอันเป็นปริศนาของแม่ ลินดาก็ได้รับมรดกตกทอดเป็นบ้านพักคนชราที่แม่เธอเคยดูแล ที่นั้นหญิงสาวค้นพบไดอารี่ของแม่ ซึ่งเขียนเล่าเรื่องราวประหลาดภายในบ้านหลังนี้ ไม่นานนักเหตุการณ์เหล่านั้นก็อุบัติขึ้นอีกครั้ง ลินดาต้องสืบหาความจริงเบื้องหลังเหตุสยองนี้ให้ได้ ก่อนที่เธอจะพบจุดจบเหมือนแม่ตัวเอง
SURPRISE FILM 1: Grand Opening หนังอีแอบหมายเลข 1 จากหนังสือ Queer Cinema for All โดย กัลปพฤกษ์’)
หนังแนว action มันสุดโหดจากประเทศญี่ปุ่นที่เล่าเรื่องราวของนักธุรกิจหนุ่มมาดสุขุมที่ต้องเป็นหนี้ของยากูซ่าขาใหญ่โดยไม่สามารถหาเงินมาใช้คืนได้ เมื่อไม่เจอทางออกอื่นใด เขาจึงร่วมมือกับลูกค้าหนุ่มเจ้าสำอางและเหล่าสหายจนตรอกอีกสามนายร่วมกันปล้นเงินจากยากูซ่ารายนั้นเสียเลย แต่มีหรือที่ยากูซ่าขาใหญ่จะปล่อยให้พวกโจรกระจอกที่มาบังอาจมาล้วงคอฉกเงินหนีไปได้เฉย ๆ พวกมันจึงว่าจ้างมือปืนจอมโหดให้ออกตามล่าสังหารพวกที่หาญกล้ามาท้าทายกันถึงถิ่น ไม่เว้นแม่แต่ลูก ภรรยา หรือคนรัก กระทั่งเหลือเพียงแค่นักธุรกิจหนุ่มโสดและหนุ่มเจ้าสำอางสองรายเท่านั้นที่ยังคงลอยนวล . . .
SURPRISE FILM 2: Grand Opening หนังอีแอบหมายเลข 2 จากหนังสือ Queer Cinema for All โดย กัลปพฤกษ์’)
หนังแนวจอมดาบย้อนยุคจากเกาหลีใต้ ที่ถ่ายทอดเรื่องราวความระส่ำระสายทางการเมืองของเกาหลีช่วงคริสตศตวรรษที่ 17 เมื่อเกิดกบฏยึดบัลลังก์จากพระมหากษัตริย์โดยทัพใหญ่ใกล้ชิดที่คิดแข็งข้อ ซึ่งหนังได้จับเรื่องราวไปที่นักรบฝีมือฉกาจสองนายจากสำนักฝึกเพลงดาบนามระบือ โดยจะขอถือวิสาสะเรียกขานนักรบนายหนึ่งว่า รัดรวบและอีกนายหนึ่งว่า รุงรังตามลักษณะทรงผม รัดรวบและ รุงรังเป็นเพื่อนสนิทกัน ทั้งสองเป็นลูกศิษย์แถวหน้าของสำนักผู้มีฝีไม้ลายมือไม่เป็นรองใคร ในการฝึกแต่ละครั้ง รัดรวบและ รุงรังมักจะได้ครองตำแหน่งเป็นผู้ชนะเสมอ ไม่จะเป็นการประลองดาบทวน หรือการฝึกดำน้ำทน ซึ่ง รุงรังก็ดูจะเป็นผู้กลั้นหายใจได้นานกว่าใครเพื่อนเสียทุกครั้ง และมักจะได้ขับเคี่ยวกับ รัดรวบเพื่อนรักอยู่ใต้ผืนน้ำกันอย่างยาวนาน แม้จะไม่เคยเป็นผู้ชนะแต่ รัดรวบก็ยินดีรับคำท้าจาก รุงรังอยู่เสมอ ด้วยไม่คิดว่า รุงรังจะมีวิทยายุทธ์พิสดารอะไรที่จะดำน้ำได้นานกว่าเขาในทุก ๆ ครา


ORDINARY LIVES, ORDINARY PEOPLE

$
0
0

(for English please scroll down)
ขอเชิญชมหนังในโปรแกรม ORDINARY LIVES, ORDINARY PEOPLE ที่ห้องเรวัต พุทธินันท์ ชั้นใต้ดิน U2 หอสมุด ปรีดี พนมยงค์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์ ในวันอาทิตย์ที่ 1 ก.ค. 2018 ตั้งแต่เวลา 13.00 น.เป็นต้นไปครับ

ชมฟรี!!! (โปรดแจ้งเจ้าหน้าที่ห้องสมุดว่ามาชมภาพยนตร์ และกรุณาแต่งกายสุภาพ) โทรศัพท์ 026133529 หรือ 026133530

โปรแกรม ORDINARY LIVES, ORDINARY PEOPLE นี้เป็นส่วนหนึ่งของโปรแกรมใหญ่ Filmvirus Curators & Company: A Reunion
โปรแกรมพิเศษรวมรุ่นคนฉายหนัง 22 ปีฟิล์มไวรัส ซึ่งจัดโดย ดวงกมลฟิล์มเฮ้าส์ (ฟิล์มไวรัส) และ สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์
ทุกวันอาทิตย์ระหว่างวันที่ 3 มิถุนายน – 22 กรกฎาคม 2561 ตั้งแต่เวลา 13.00 น. เป็นต้นไป

รายละเอียดทั้งหมดของโปรแกรม FILMVIRUS CURATORS & COMPANY: A REUNION สามารถดูได้ที่ลิงค์นี้ครับ

โดยในส่วนของโปรแกรมย่อย ORDINARY LIVES, ORDINARY PEOPLE ที่จะจัดขึ้นในวันอาทิตย์ที่ 1 ก.ค.นั้น ประกอบด้วยภาพยนตร์ดังต่อไปนี้:

13.00 น. BLUE NOTES (2006, Bill Mousoulis, Australia, 93min)

15.00
น. ภาพยนตร์สั้น 4 เรื่อง ความยาวรวมกันราว 109 นาที
MARITIME (2012, Dean Kavanagh, Ireland, 12min)
+บรรยากาศยามเช้าที่บ้านตอน 6 โมง (2011, Wachara Kanha, 16min)
+FAITH (1987, Bill Mousoulis, Australia, 27min)
+SEE YOU TOMORROW (2015, Nattawoot Nimitchaikosol, 53min)

เลือกภาพยนตร์เหล่านี้มาฉายควบกัน เพราะภาพยนตร์ 5 เรื่องนี้ล้วนนำเสนอชีวิตธรรมดาของคนธรรมดาออกมาได้อย่างงดงามและซาบซึ้งมากๆ โดย MARITIME และ ATMOSPHERE AT THE HOUSE AT 6AM นำเสนอภาพกิจวัตรประจำวันของคนธรรมดา ในขณะที่ BLUE NOTES, FAITH และ SEE YOU TOMORROW นำเสนอปัญหาชีวิตที่คนธรรมดาต้องเผชิญ ทั้งปัญหาเรื่องปากท้อง, ความสัมพันธ์ และการรับมือกับสังคมการเมืองที่เปลี่ยนแปลงไป

BLUE NOTES (2006, Bill Mousoulis, Australia, in English, no subtitles, 93min)

BLUE NOTES ประกอบด้วยเรื่องราวย่อยๆ 5 เรื่องของผู้คนที่อยู่ในความเศร้า ซึ่งประกอบด้วยเรื่องของชายที่มีอาการซึมเศร้า, ลูกชายของเขาที่ใช้ชีวิตแบบไม่เป็นโล้เป็นพาย, หญิงสาวที่ถูกแฟนกดขี่ทำร้าย, ชายติดเฮโรอีนที่พยายามจะเริ่มต้นประกอบอาชีพด้านดนตรี และชายที่ใช้ชีวิตอย่างโดดเดี่ยวและพยายามจะหาทางสร้างสัมพันธ์กับคนอื่นๆในสังคม

MARITIME (2012, Dean Kavanagh, Ireland, silent, 12min)
ผู้ชายคนหนึ่งเดินไปเดินมาในบ้าน, หยิบสิ่งของขึ้นมาดู, เล่นเปียโน, มองออกนอกหน้าต่าง

ATMOSPHERE IN THE HOUSE AT 6AM (2011, Wachara Kanha, in Thai, no subtitles, 17min)
บรรยากาศยามเช้าที่บ้านตอน 6 โมง หนังเหมือนเป็นการจำลองความรู้สึกสะลึมสะลือ ความรู้สึกงัวเงียขณะที่ต้องแหกขี้ตาตื่นนอนตอนเช้า

FAITH (1987, Bill Mousoulis, Australia, in English, no subtitles, 27min)
กิจวัตรประจำวันของสามีภรรยาชนชั้นแรงงานคู่หนึ่ง ตื่นนอน, ทำงาน, เดินทางกลับจากที่ทำงาน, ซักผ้า, เลี้ยงลูก, ทำอาหาร, กินอาหาร, คุยกับเพื่อน และดิ้นรนอย่างเงียบเชียบเพื่อที่จะมีชีวิตอยู่ต่อไป

SEE YOU TOMORROW (พบกันใหม่โอกาสหน้า) (2015, Nattwoot Nimitchaikosol, in Thai, English subtitles, 53min)
ความเปลี่ยนแปลงเข้ามาถึง เมื่อช้างที่จัดรายการวิทยุอยู่ดีๆ ก็จะได้จัดทอล์คโชว์ซึ่งเป็นความใฝ่ฝันตั้งแต่วัยเรียน แต่ความหวั่นวิตกเกินเลยของเขาทำให้เกิดปัญหาระหว่างการจัดทอล์คโชว์

หนังเรื่อง BLUE NOTES กับ FAITH พูดภาษาอังกฤษ โดยไม่มี subtitles แต่คิดว่าน่าจะดูเข้าใจได้ไม่ยากครับ

Five films in the program “ORDINARY LIVES, ORDINARY PEOPLE” will be screened at Rewat Buddhinan Room, U2 Floor, Pridi Banomyong Library, Thammasat University, Tha Prachan Campus, on Sunday, July 1, 2018, starting from 13.00 hrs. Admission Free

The program ORDINARY LIVES, ORDINARY PEOPLE is a part of the big program “Filmvirus Curators & Company: A Reunion”, which is organized by Duangkamol Filmhouse (FILMVIRUS) and Thammasat University Library, Tha Prachan Campus. The program FILMVIRUS CURATORS & COMPANY: A REUNION shows films every Sunday from June 3 – July 22, 2018, starting from 13.00 hrs.

The full details of the program FILMVIRUS CURATORS & COMPANY: A REUNIONcan be found here:

Films shown in the program ORDINARY LIVES, ORDINARY PEOPLE on July 1, 2018:

13.00 น. BLUE NOTES (2006, Bill Mousoulis, Australia, 93min)

15.00
น.  MARITIME (2012, Dean Kavanagh, Ireland, 12min)
+ ATMOSPHERE IN THE HOUSE AT 6 AM (2011, Wachara Kanha, 16min)
+FAITH (1987, Bill Mousoulis, Australia, 27min)
+SEE YOU TOMORROW (2015, Nattawoot Nimitchaikosol, 53min)

BLUE NOTES (2006, Bill Mousoulis, Australia, in English, no subtitles, 93min)
                          
BLUE NOTES is composed of five tales about people who are “blue”: a married man struggles with depression; his son spends his days drifting; a young woman reacts to being abused by her partner; a heroin addict attempts to start a career in music; and a lonely man, bereft of family, looks for a way to connect with others.

BLUE NOTES is a distinctive film within the context of Australian cinema. It is a highly realistic work, not afraid to show the everyday, and the problems ordinary people face, but it is also a supremely formalistic work, in both its moment-to-moment play (eschewing conventional dramatics) and in its overall structure (using a 3-part structure to play out its 5 stories). And, despite its down-beat subject matter, the film portrays its people with dignity, even as some of them succumb to their situations, and as others rise up and save themselves.

MARITIME (2012, Dean Kavanagh, Ireland, silent, 12min)

A lyrical film which portrays some insignificant activities of a man

ATMOSPHERE IN THE HOUSE AT 6AM (2011, Wachara Kanha, in Thai, no subtitles, 17min)

The title already tells you what this film is all about. Though the film is in Thai without any subtitles, no English subtitles are actually needed. What the characters talk in this film is something like, “Wake up!”

FAITH (1987, Bill Mousoulis, Australia, in English, no subtitles, 27min)

The faith of a heart and the faith of a look. A period in the life of a young Australian couple.

SEE YOU TOMORROW  (2015, Nattwoot Nimitchaikosol, in Thai, English subtitles, 53min)

Chang, who was a radio DJ, was suddenly given a chance to hold a talk show, which was his lifelong ambition. But this happened just after the coup d’état in Thailand in May 2014. Would he be able to fulfill his lifelong dream during the time of the political turbulence in Thailand?

GAHOLMAHORATUEK (2018, Worrawit Kattiyayothin, TV Series, 26 episodes, A+30)

$
0
0

GAHOLMAHORATUEK (2018, Worrawit Kattiyayothin, TV Series, 26 episodes,  A+30)
กาหลมหรทึก (วรวิทย์ ขัตติยโยธิน)

พอป่วย ก็เลยต้องนอนซมอยู่บ้าน เมื่อวานก็ออกไปดูหนังไม่ได้ วันนี้ก็ออกไปทำงานไม่ได้ ก็เลยได้ดูกาหลมหรทึกจนจบ :-)

1.ชอบที่ละครมันดัดแปลงออกมาให้แตกต่างจากนิยายมากพอสมควร แล้วก็ทำออกมาได้ดี ทำให้นึกถึงละครทีวีอีกสองเรื่องที่เราคิดว่าทำได้ดีแบบนี้เหมือนกัน ซึ่งก็คือ “กฤตยา” (1989, วรยุทธ พิชัยศรทัต) ที่สร้างจากบทประพันธ์ของทมยันตี และนำแสดงโดย ชุดาภา จันทเขตต์ กับ “ล่า” (1994, สุพล วิเชียรฉาย) ที่สร้างจากบทประพันธ์ของทมยันตี คือเราว่าละครทีวีสองเรื่องนี้กับ กาหลมหรทึก แสดงให้เห็นว่าคนเขียนบทละครทีวี “คิดหนักมาก” น่ะ เพราะแทนที่คนเขียนบทจะแค่เขียนบทไปตามตัวนิยาย แต่คนเขียนบทเหมือนเอาตัวนิยายเดิม มากลั่นกรองใหม่อย่างจริงจัง แล้วใช้จินตนาการอันล้ำเลิศของตัวคนเขียนบทละครมาช่วยผสมผสานเติมแต่งเข้าไป แล้วแปรรูปเนื้อเรื่องในตัวนิยายให้มันแตกต่างไปจากเดิมเป็นอย่างมาก

อีกอย่างที่ชอบสุดๆในบทละครทีวีเรื่องนี้ ก็คือการให้ความสำคัญกับตัวประกอบยิบย่อยมากมายหลายตัว และพยายามทำให้ตัวประกอบยิบย่อยหลายตัวนั้นดูเป็นมนุษย์ขึ้นมาจริงๆ  ตั้งแต่บทนายฉม, หลวงพ่อเปิ่น (ไมเคิล เชาวนาศัย), นายลิ่ว (พลภัคค์ วัชรพงศ์หิรัญ), พ่อบ้านของเถ้าแก่ฮวด, คุณนายสังวาลย์ ประพนธ์ธรรม (ณหทัย พิจิตรา), สาวใช้ชื่อ บัว (อัจฉรียา โพธิพิพิธธนากร), นายอ่ำ (วรกร ศิริสรณ์) และยายอร (รัดเกล้า อามระดิษ) ตัวละครเหล่านี้ดูมีมิติความเป็นมนุษย์ขึ้นมามาก เพราะบทละครทีวีช่วยไว้

2.งาน production design และการคิดฉากคิดซีนหลายๆซีนก็ทำออกมาได้ดีนะ อย่างที่เราทยอยโพสท์ถึงไปเรื่อยๆแล้วในแต่ละตอน 555 บรรยายไม่หมดหรอกว่ามีฉากไหนบ้างที่เราชอบมากในละครเรื่องนี้

3.ในส่วนของการแสดงนั้น เราชอบการแสดงของรัดเกล้ามากสุด และชอบการแสดงของโอ อนุชิตเป็นอันดับสอง

ส่วนวิว วรรณรท สนธิไชย, แทค ภรัณยู กับพลวัฒน์ มนูประเสริฐนั้น เราว่าเล่นใช้ได้เลย คืออาจจะไม่ถึงขั้นเทพแบบสองคนข้างต้น แต่ก็ถือว่าสอบผ่านสำหรับเรา

สรพงษ์ ชาตรีก็เล่นได้ดีมาก แต่มันไม่น่าแปลกใจ เพราะมันเป็นมาตรฐานของแกอยู่แล้ว

ในส่วนของพระเอกนั้น เราว่าก็พอถูไถไปได้ คือสาเหตุหนึ่งอาจจะเป็นเพราะบทไม่เอื้อด้วยแหละ เหมือนบทพระเอกหนังเรื่องนี้ กับบทประเภท Hercule Poirot มันเป็นบทที่ไม่เปิดโอกาสให้นักแสดงได้แสดงอะไรมากนักก็ได้มั้ง คือจะว่าพระเอกเล่นไม่ดี เราก็พูดได้ไม่เต็มปาก คือเรารู้สึกว่าตัวละครนี้มันไม่น่าประทับใจมากเท่าตัวละครคนอื่นๆ แต่ความไม่น่าประทับใจของตัวละครตัวนี้ มันไม่ได้เกิดจากฝีมือของนักแสดงเพียงอย่างเดียว แต่มันเกิดจากตัวนิยาย/บทละครทีวีด้วย ที่สร้างตัวละครพระเอกที่แบนๆ เหมือนตัวละครประเภท Hercule Poirot (ซึ่งก็ไม่ใช่เรื่องผิดอะไรในนิยาย genre นี้) คือเราว่านักแสดงก็พยายามแสดงสีหน้าสีตาเคร่งเครียด ถมึงทึง คิดหนัก อะไรไปตามบทนั่นแหละ ซึ่งก็อาจจะเป็นการแสดงที่ดีที่สุดเท่าที่บทจะเอื้อให้แสดงได้แล้ว

ส่วนนักแสดงที่ดูเหมือนเล่นแย่ที่สุด แต่เราไม่ว่าอะไรทั้งสิ้น ก็คือยุกต์ ส่งไพศาล 555 คือเขาโผล่มาฉากเดียว แต่การแสดงของเขา เหมือนเขากำลัง “เล่นกับกล้อง” มากกว่าเล่นกับตัวละครที่อยู่ในฉากเดียวกัน 555 คือตอนดูจะสงสัยว่า มึงเป็นตัวละครที่กำลังคุยอยู่กับตัวละครด้วยกัน หรือมึงเป็นนายแบบที่กำลังเล่นกับกล้อง 555

4.แน่นอนว่าสิ่งที่ชอบที่สุดอย่างนึงในละครทีวีเรื่องนี้ ก็คือนักแสดงชายหน้าตาดีจำนวนมาก โดยเฉพาะยุทธนา เปื้องกลาง ในบทพระมหาสุชีพ กับชลวิทย์ มีทองคำ ในบทหมวดกบี่

ความจิ้นวายที่ใส่เข้ามาในเรื่องก็ดีมาก ทั้งระหว่างแชน-กบี่ และนายกล้า-นายอ่ำ

5.แต่ตอนดูก็แอบนึกเสียดายเหมือนกันว่า ถ้าหากไม่ได้อ่านนิยายมาก่อน เราจะสนุกกับมันมากกว่านี้เยอะไหม 555 ซึ่งเรื่องนี้เป็นจุดอ่อนของนิยายแบบ WHODUNIT โดยทั่วไปนั่นแหละ คือความสนุกสุดขีดของมันอยู่ตรงที่การไม่รู้เนื้อเรื่องมาก่อน และผู้อ่าน/ผู้ชมได้ขบคิด คาดเดาไปพร้อมๆกับตัวละครเอกว่าใครเป็นฆาตกร อย่างตอนที่เราอ่านนิยายเรื่องนี้ เราก็เดาตัวละครฆาตกรและจอมบงการไม่ออกเหมือนกัน และมันทำให้เรา surprise มากเมื่ออ่านนิยายมาถึงช่วงท้ายเรื่อง

จุดอ่อนของเรื่องประเภทนี้ก็คือว่า พอเรารู้คำเฉลยหมดแล้ว อรรถรสของมันก็จะลดลงไปส่วนนึงน่ะ

จำได้ว่าตอนเด็กๆเคยดูละครทีวีเรื่อง “ทะเลเลือด” (1986, อดุลย์ ดุลยรัตน์) ที่สร้างจาก DEATH ON THE NILE ของ Agatha Christie ตอนนั้นเราไม่รู้เนื้อเรื่องในตัวนิยายมาก่อน และเราจำได้ว่าตอนดู “ทะเลเลือด” นี่ “เปลี่ยนความคิดทุกเบรคโฆษณา” ว่าใครคือฆาตกร คือมันลุ้นมากๆ และคนเขียนบทละครทีวีเรื่อง “ทะเลเลือด” นี่ก็เก่งมากๆด้วยแหละ คือมีการใส่ clue เข้ามาเพื่อเปลี่ยนความคิดคนดูทุกช่วงเบรค คือพอเราดูเบรคนึง เราอาจจะคิดว่า อมรา อัศวนนท์เป็นฆาตกร แต่พอดูอีกเบรคนึง เราก็คิดว่า พรพรรณ เกษมมัสสุเป็นฆาตกร แล้วก็จะเปลี่ยนความคิดไปเรื่อยๆในทุกเบรคโฆษณา

ละครทีวีอีกเรื่องนึงที่ประทับใจมากๆในแง่การคาดเดา ก็คือ “พรสีเลือด” (1978, อดุลย์ กรีน) ที่นำแสดงโดยนาท ภูวนัย, มยุรฉัตร เหมือนประสิทธิเวช กับช่อเพชร ชัยเนตร คือ “พรสีเลือด” นี่มันสร้างจาก AND THEN THERE WERE NONE ของ Agatha Christie แต่ตอนที่เราดู “พรสีเลือด” นี่ เราไม่รู้เนื้อเรื่องมาก่อน เราก็เลยลุ้นสุดๆตอนดู แต่ไม่ได้ลุ้นว่าใครเป็นฆาตกรนะ แต่ลุ้นว่าใครจะอยู่หรือใครจะตาย เพราะตัวละครจะค่อยๆถูกสังหารโหดไปทีละคน ทีละคน เหมือนในละครหนึ่งตอน จะมีตัวละครถูกฆ่าตายหนึ่งคน ถ้าจำไม่ผิด

ก็เลยแอบเสียดายนิดหน่อย ที่อ่านนิยายเรื่อง “กาหลมหรทึก” มาก่อน 555

แต่ถึงแม้รู้เนื้อเรื่องมาแล้ว เราก็ยังดูละครเรื่องนี้สนุกอยู่ดีนะ เพราะละครก็ทำออกมาได้ดี, มีการดัดแปลงเนื้อเรื่องไปเยอะ และมีการเฉลยฆาตกรและจอมบงการเร็วกว่าในนิยายเยอะมาก

6.ถึงแม้เราจะประทับใจกับละครทีวี กาหลมหรทึก มากๆ โดยเฉพาะในแง่ “บทละครทีวี” แต่ถ้าหากถามว่า มันเข้าทางเราจริงๆหรือเปล่า เราก็อาจจะตอบว่า มันเข้าทางเราแค่ 75% มั้ง 555

เหมือนกับว่าเราเองก็ไม่ได้ชอบนิยายแนว WHODUNIT ของ Agatha Christie หรือ Mary Higgins Clark มากแบบสุดๆเหมือนตอนเด็กแล้วน่ะ คือนิยายหรือเนื้อเรื่องประเภท Whodunit นี่ อาจจะไม่ใช่แนวทางเราแล้ว

ตอนนี้เราชอบเรื่องราวฆาตกรรมแบบในหนังของ Claude Chabrol หรือพวกหนังที่สร้างจากนิยายของ Ruth Rendell, Patricia Highsmith และ Georges Simenonมากกว่า คือในหนังกลุ่มนี้ มันจะมีเหตุการณ์ฆาตกรรมเกิดขึ้น แต่ประเด็นที่ว่าใครคือฆาตกรไม่ใช่ประเด็นสำคัญอีกต่อไป เพราะหนังกลุ่มนี้มันจะเน้นเจาะลึกไปที่จิตใจมนุษย์แต่ละคนที่เกี่ยวข้องโดยตรงหรือโดยอ้อมกับคดีฆาตกรรมนั้น และอะไรแบบนี้ก็เป็นสิ่งที่เข้าทางเรามากที่สุด (ก็ดูจาก cover photo ของดิฉันสิคะ cover photo ของดิฉันเป็นภาพจากหนังเรื่อง LA CEREMONIE ที่กำกับโดย Claude Chabrol และสร้างจากนิยายของ Ruth Rendell)

 สรุปว่า ชอบละครทีวี “กาหลมหรทึก” มากๆ มันเป็นการดัดแปลงนิยายออกมาเป็นละครทีวีที่แตกต่างไปจากบทประพันธ์ดั้งเดิมได้ดีมาก และมันแสดงให้เห็นว่าตัวคนเขียนบทละครทีวีทำงานหนักมากในแง่การดัดแปลง และมีการคิดฉากคิดซีนต่างๆที่น่าประทับใจออกมาได้หลายซีนเกือบตลอดทั้งเรื่อง แต่เราก็ยอมรับนะว่าละครทีวีเรื่องนี้อาจจะไม่ใช่สิ่งที่เข้าทางเราจริงๆจ้ะ



TOIRALLEL TIMES (2018, Chanasorn Chaikitiporn, 45min, A+30)

$
0
0

TOIRALLEL TIMES (2018, Chanasorn Chaikitiporn, 45min, A+30)
สุขากาลเวลา

SPOILERS ALERT
--
--
--
--
--
1.ชอบความประหลาดของหนัง เราว่าหนังมันแปลกดี และชอบที่ตัวละครที่แปลกแยก 4 คนมาเจอกัน โดยที่แต่ละคู่เหมือนเป็นการเจอกับตัวเองในอนาคต หรือเจอกับตัวเองในอดีต และมันก็เลยเศร้า เมื่อเราที่แปลกแยกจากสังคมในวัยรุ่น โตขึ้นก็กลายเป็นผู้ใหญ่ที่แปลกแยกจากสังคมอยู่ดี

2.ประเด็นของหนังก็น่าสนใจและ thought provoking ดี มันเหมือนพูดถึง เชื้อโรคที่มนุษย์รังเกียจ, ห้องส้วม ที่มนุษย์รังเกียจ, ปัญหาความรุนแรงในภาคใต้ และตัวละครที่ประสบปัญหาทั้งจาก “ปัญหาภาคใต้” และจาก “ปัญหาในครอบครัวตัวเอง”

ถ้าเราเข้าใจไม่ผิด หนังอาจจะพยายามเปรียบเทียบสิ่งเหล่านี้เข้าด้วยกัน ปัญหาความเกลียดชังหรือความหวาดระแวงคนต่างศาสนา หรือปัญหาความรุนแรงที่รัฐกระทำกับประชาชน อาจจะเหมือนอคติของคนที่มีต่อเชื้อจุลินทรีย์ และอคติของคนที่มีต่อห้องส้วม และตัวละคร 4 คนนี้ ที่แปลกแยกจากทั้งสังคม (เพราะอพยพจากภาคใต้มาอยู่เมืองอื่น) และจากครอบครัวตัวเอง ก็เลยมาเจอกันในห้องส้วม และต่อมาตัวละครบางคนก็ไปปรากฏตัวใน “ลานจอดรถ” ซึ่งเป็นสถานที่ที่ desperate มากๆ เพราะมันเป็นสถานที่สำหรับคนที่ “ไม่อยากกลับบ้าน” แต่ก็ “ไปไหนไม่ได้” จริงๆ คนที่ “ไม่อยากกลับไปเจอครอบครัวตัวเอง” แต่ก็ไม่รู้จะไปที่ไหนดีแบบนี้ บางทีก็เหมือนวิญญาณเคว้งคว้าง เปลี่ยวเหงา และต้องเตร็ดเตร่อยู่ในสถานที่ที่ “พักพิงไม่ได้” อย่างเช่น ห้องส้วมและลานจอดรถแบบนี้

3.ชอบฉากอุโมงค์มากๆ ไม่รู้เหมือนกันว่ามันคืออะไร แต่มันทำให้เรานึกถึงอุโมงค์กาลเวลา มันเหมือนตั้มเป็นอนาคตของน้องต้น และตาลเป็นอนาคตของน้องเตย และฉากอุโมงค์นี้ก็คือการเชื่อมอดีตกับอนาคตของตัวละครเหล่านี้เข้าด้วยกัน

ฉากอุโมงค์นี้ทำให้นึกถึงฉากคลาสสิคใน SOLARIS (1971, Andrei Tarkovsky) ด้วย

4.แต่จริงๆแล้วเราชอบพวกฉาก insert ในหนังมากกว่าฉากหลักที่เป็นตัวละคร 4 คนคุยกันนะ เราว่าพวกฉากที่ตัดอะไรมากมายมาปะติดปะต่อกัน, ฉาก graphic เชื้อโรคอะไรพวกนี้ มันดูดี แต่ฉากหลักที่เป็นตัวละคร 4 คนคุยกัน เรามีปัญหาอยู่บ้าง

5.ฉากหลักที่เป็นตัวละครคุยกัน และฉากขี้ตอนต้นเรื่อง เรามีปัญหากับมัน คือในแง่นึงเราว่ามันเป็น dilemma ของการนำเสนอสิ่งที่ disgusting  หรือสิ่งที่ไม่สวยงามน่ะ และเราเองก็ยังไม่แน่ใจเหมือนกันว่าเราควรจะลงความเห็นยังไงดีต่อ dilemma นี้

คือเราว่าฉากขี้ตอนต้นเรื่อง มัน disgusting เกินไปผ่านทางความสมจริงแบบทื่อๆของมันน่ะ และฉากที่เป็นตัวละครคุยกัน มันก็ขาดเสน่ห์ทางภาพอย่างมากๆในความเห็นของเรา เพราะมันดูเหมือนนำเสนอห้องน้ำแบบสมจริง ทื่อๆแบนๆไปเลย โดยไม่ต้องจัดแสง ออกแบบเฟรมภาพ สร้างบรรยากาศ หรือหาทางสร้างความงดงามทางภาพใดๆทั้งสิ้น

คือในแง่นึง ผู้สร้างหนังก็สามารถให้เหตุผลได้นะ ว่าการนำเสนออะไรที่สมจริงแบบนี้ เพราะต้องการให้คนดูรู้สึก disgusting กับขี้จริงๆ และต้องการให้คนดูรู้สึกได้ถึง “ห้องน้ำ” จริงๆ ที่ไม่สวย ไม่น่าอยู่อะไรเลย ซึ่งถ้าผู้กำกับให้เหตุผลแบบนี้ มันก็ฟังขึ้นนะ 555

แต่เราก็ยอมรับว่า มันไม่เข้ากับ taste ของเราน่ะ มันหนักข้อเกินไปสำหรับเรา และอาจจะเป็นเพราะว่าเราเคยชินกับ “หนังที่ถ่ายสวย” น่ะ พอมาเจออะไรที่สมจริงเกินไปแบบนี้ เราก็เลยรู้สึกว่ามันมากเกินไปสำหรับเรา

และเราคิดว่ามันอาจจะลักลั่นก็ได้นะ เพราะจริงๆแล้ว เนื้อหาในฉากที่ตัวละคร 4 คนคุยกันนั้น มันก็ไม่ได้สมจริงจริงๆน่ะ เราว่าเนื้อหาของฉากตัวละครคุยกันนี้ จริงๆแล้วมัน surreal เพราะฉะนั้นการถ่ายห้องน้ำแบบ “สมจริง” มากๆแบบนี้ มันอาจจะไม่จำเป็นกับฉาก surreal แบบนี้ก็ได้ 555

6.แต่ก็ชอบไอเดียการถ่ายแบบ long take เคลื่อนกล้องไปเรื่อยๆนะ รู้สึกว่าตากล้องและผู้กำกับต้องคิดหนักพอสมควรถึงจะถ่ายออกมาได้แบบนี้ โดยเฉพาะในช่วงครึ่งหลังที่ห้องน้ำมีกระจกเยอะมาก แล้วตากล้องคงต้องคอยหลบเงาตัวเองในกระจกด้วย

แต่เราว่าถึงแม้การ long take จะเป็นสิ่งที่ดี และอาจจะมีเหตุผลรองรับในหนังเรื่องนี้ โดยเหตุผลก็อาจจะมีอย่างเช่น เพื่อนำเสนอสภาพห้องน้ำตามความเป็นจริง, เพื่อ observe ความจริง และก็เลยได้ภาพห้องน้ำที่ทื่อๆแบนๆ ไร้ชีวิตจิตใจ ไม่น่าอยู่แบบนี้ออกมา แต่เราก็ยอมรับว่า ใจจริงของเรานั้น ก็ต้องการ “ความงดงามด้านภาพ” มากกว่านี้อยู่ดีนะ

7.แล้วเราเคยชินกับหนังแบบไหน หรือต้องการการถ่ายภาพแบบหนังแบบไหนเหรอ เราก็อาจจะยกตัวอย่างได้ดังนี้

7.1 คือเราก็เคยดูหนังที่มี “ขี้” หลายเรื่องนะ ทั้ง KINGS OF THE ROAD (1976, Wim Wenders), SALO OR THE 120 DAYS OF SODOM (1975, Pier Paolo Pasolini), SWEET MOVIE (1974, Dusan Makavejev)แต่เราว่าหนังเหล่านี้นำเสนอขี้ได้อย่างมีรสนิยมน่ะ 555 มันก็เลยดูไม่น่าพะอืดพะอมมากนักเวลาดูหนังเหล่านี้ จะมีก็แต่ PINK FLAMINGOS (1972, John Waters) เท่านั้นมั้ง ที่นำเสนอขี้ได้อย่างน่าขยะแขยง แต่เราว่า TOIRALLEL TIMES นี่นำเสนอขี้ได้อย่างน่าขยะแขยงกว่า PINK FLAMINGOS หลายเท่า

คือเราคิดว่าผู้สร้างหนังคงมีเหตุผลในการนำเสนอขี้ในแบบน่าขยะแขยงเต็มที่แบบนี้นะ แต่เราก็ยอมรับว่า มันมากเกินไปสำหรับเราน่ะ เราต้องการขี้ที่มันไม่น่ารังเกียจเกินไปแบบใน หนัง 3 เรื่องข้างต้นที่เรายกตัวอย่างมามากกว่า

7.2 ในส่วนของการถ่ายฉากคุยกันในห้องน้ำนั้น ผู้สร้างหนังอาจจะมีเหตุผลของตัวเองในการนำเสนอห้องน้ำแบบ “สมจริง” แต่ถ้าหากพูดถึงรสนิยมของเราแล้ว เราอยากได้ห้องน้ำที่ “น่ารังเกียจ” แต่มี “เสน่ห์ทางภาพ” ในเวลาเดียวกันน่ะ ซึ่งมันก็ไม่ใช่เรื่องง่ายๆที่จะทำเหมือนกันนะ โดยตัวอย่างของการนำเสนอ “สภาพที่น่ารังเกียจ” แต่ “มีเสน่ห์ทางภาพ” ในภาพยนตร์ ก็มีเช่น

7.2.1 หนังหลายๆเรื่องของ Bela Tarr ซึ่งเป็นเจ้าของ quote เปิดหนังเรื่องนี้ คือหนังของ Bela Tarr, Sharunas Bartas, Artur Aristakisian, Fred Kelemen อะไรพวกนี้ มันเสนอภาพชีวิตแร้นแค้น สลัมน้ำครำ คนจน แต่จริงๆแล้ว “ภาพมันสวยมากๆ” น่ะ คือเนื้อหาของภาพมันสะท้อนสภาพชีวิตแร้นแค้นก็จริง แต่ผู้กำกับมันสามารถถ่ายออกมาให้สวยมากๆได้

7.2.2 ถ้าตัวอย่างใกล้ๆตัว ก็คือ THE BLUE HOUR (2015, Anucha Boonyawatana) ที่มีทั้งฉากกองขยะ และฉากห้องน้ำโสโครก แต่ผู้กำกับก็สามารถถ่ายทั้งสองฉากนี้ให้ออกมาดูมีความงดงามด้านภาพ ได้ทั้งความน่ารังเกียจ และมนตร์เสน่ห์ทางภาพในเวลาเดียวกัน

7.2.3 หนังของ Lav Diaz และ Weerapong Wimuktalop ก็ชอบถ่ายอะไรที่ไม่สวยงามเหมือนกัน หนังของ Weerapong ชอบถ่ายบ้านร้างและกองขยะจริงๆ หนังของ Lav Diaz อย่างเช่น STORM CHILDREN: BOOK ONE (2014) ก็เป็นหนังสารคดีที่มีการถ่ายกองขยะจริงๆเป็นเวลาเนิ่นนาน แต่เรากลับจ้องมองกองขยะได้เป็นเวลานานๆในหนังของ Lav Diaz โดยไม่รู้สึกเบื่อเลย เพราะมันมีมนตร์เสน่ห์ทางภาพบางอย่างที่ยากจะอธิบายได้

ตัวอย่างหนังของ Weerapong Wimuktalop

7.2.4 หนังอีกกลุ่มที่น่าสนใจ ก็คือหนังกลุ่ม slum cinema ของฟิลิปปินส์ คือมีหนังฟิลิปปินส์หลายเรื่องที่ชอบใช้ฉากเป็นสลัมโสโครกน่ะ ซึ่งรวมถึงหนังบางเรื่องของ Lino Brocka, Khavn de la Cruz และ Brillante Mendoza แต่หนังพวกนี้ก็ไม่ได้ถ่ายสลัมออกมาทื่อๆแบนๆนะ คือภาพสลัมในหนังพวกนี้อาจจะไม่ได้มี “พลังทางจิตวิญญาณ” หรือ “สวยสุดขีด” แบบภาพบ้านเมืองแร้นแค้นในหนังของผู้กำกับกลุ่ม 7.2.1 แต่มันก็เป็นภาพสลัมที่โสโครกแต่ดูดีบนจอภาพยนตร์ในเวลาเดียวกันน่ะ

เราว่าความแตกต่างระหว่างการถ่ายแบบทื่อๆแบนๆ กับการถ่ายภาพ “สิ่งเลวร้าย แต่มีความงดงามด้านภาพ” ในเวลาเดียวกัน มันอาจจะคล้ายๆภาพข่าวน่ะ โดยเฉพาะภาพข่าวสงคราม คือภาพข่าวสงครามบางอัน เวลา google ดูแล้วเราแทบอ้วกน่ะ คือมันน่าขยะแขยงพอๆกับฉากขี้ใน TOIRALLEL TIMES นี่แหละ คือมันนำเสนอความจริงโดยไม่ต้องสร้างความงดงามด้านภาพใดๆทั้งสิ้น คือดูแล้วอ้วกออกมาเลย

แต่มันมี “ภาพข่าวสงคราม” ประเภทที่สามารถโชว์ในแกลเลอรี่ และนำออกมาขายรวมเล่มปกแข็งได้น่ะ และภาพข่าวสงครามประเภทนี้ มัน “นำเสนอเนื้อหาที่เลวร้ายมากๆ สะท้อนความเลวร้ายมากๆ แต่มันมีความงดงามทางภาพ และมีมนตร์เสน่ห์ทางภาพ” ในเวลาเดียวกัน

ซึ่งเรื่องนี้มันก็เป็น dilemma มากๆ ถ้าเข้าใจไม่ผิด Susan Sontag เคยเขียนหนังสือเกี่ยวกับประเด็นนี้ด้วย แต่เรายังไม่เคยอ่าน คือมันเป็น dilemma ประเภทที่ว่า เราควรจะ “แสดงออกอย่างไรดี” เวลาเจอภาพ “ศพถูกแขวนคอ ที่ถ่ายสวยมากๆ” อะไรทำนองนี้

เรายอมรับว่า ปัญหาที่เรามีกับ TOIRALLEL TIMES ทำให้เรานึกถึง dilemma ข้างต้นน่ะ คือเราว่าหนังเรื่องนี้ถ่ายไม่สวย ขาดมนตร์เสน่ห์ทางภาพ โดยเฉพาะในฉากที่ตัวละครคุยกัน และเราอยากให้หนังมันถ่ายสวยๆกว่านี้ ยิ่งได้อารมณ์แบบ Bela Tarr, Anucha Boonyawatana หรือ Lav Diaz ก็จะยิ่งดีมากๆ แต่เราก็ยอมรับว่า ผู้สร้างหนังก็อาจจะมีเหตุผลของตัวเองเหมือนกัน ในการถ่ายห้องน้ำให้ดู “ไม่น่าอยู่” หรือ “ไม่สวย” แบบนี้


Viewing all 3291 articles
Browse latest View live